สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ - ยาสมุนไพรแผนปัจจุบันต้านมะเร็ง- สารนำต้านมะเร็งจากฐานข้อมูลตำรับยาสมุนไพรไทย มโนสร้อย 2
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. ภก.จีรเดช มโนสร้อย - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ - ยาสมุนไพรแผนปัจจุบันต้านมะเร็ง- สารนำต้านมะเร็งจากฐานข้อมูลตำรับยาสมุนไพรไทย มโนสร้อย 2
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Bioactive - Modern Anti-cancer Herbal Drug - Anti-cancer Lead Compound from Thai Medicinal Plant Recipe Database MANOSROI II
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. ภก.จีรเดช มโนสร้อย
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Anti-cancer Lead Compound
บทคัดย่อ:  <-p>

สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. ได้สนับสนุนทุนวิจัยโครงการ <-span>การพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ - ยาสมุนไพรแผนปัจจุบันต้านมะเร็ง- สารนำต้านมะเร็งจากฐานข้อมูลตำรับยาสมุนไพรไทย มโนสร้อย <-span>2<-span>” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสารออกฤทธิ์ ทางชีวภาพ - ยาสมุนไพรแผนปัจจุบันต้านมะเร็ง - สารนําต้านมะเร็งจากฐานข้อมูลต้นตำรับยาสมุนไพรประเทศไทย<-span><-o-p><-span><-p>

จากการศึกษาวิจัย พบว่า <-span>sitosterol 3-O-<-span>β<-span>-Dglucopyranoside และ (-)-<-span>marmesin, psolaren เป็นองค์ประกอบที่พบได้ในพืชตระกูลมะเดื่อ ขณะที่ <-span>isowigtheone hydrate ยังไม่มีรายงานการพบในพืชตระกูลมะเดื่อ นอกจากนี้สารนําบางชนิดมีรายงานการวิจัยเกี่ยวกับฤทธิ์ต้านมะเร็ง เช่น <-span>psoralen ที่สกัดแยกจาก <-span>Psoralea corylifolia L. สามารถออกฤทธิ์ ยับยั้งเซลล์มะเร็งช่องปาก (<-span>KB, KBv200) และเซลล์มะเร็ง เม็ดเลือด (<-span>K562, K562-ADM) ได้โดยมีค่า <-span>IC50 เท่ากับ <-span>88.1, 86.6, 24.4 และ <-span>62.6 <-span>μ<-span>g-ml ตามลําดับ<-span>9 isowigtheone hydrate ที่สกัดแยกจาก <-span>Brosimum utile สามารถออกฤทธิ์ยับยั้ง เซลล์มะเร็งเต้านม (<-span>MCF7) และเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมาก (<-span>PC3) ได้โดยมีค่า <-span>IC50 เท่ากับ <-span>26.5 และ <-span>28.4 <-span>μ<-span>g-ml ตามลําดับ <-span>6 ดังนั้น จะนําสารนําที่่สกัดแยกได้ทั้ง <-span>4 ชนิด ไปทดสอบฤทธิ์ต้านมะเร็งในหลอดทดลองเพื่อให้ได้สารนําที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งสูงสุดสำหรับการพัฒนาเป็นยารักษาโรคมะเร็งตอไป<-span><-o-p><-span><-p>

ประโยชน์ที่จะได้รับจากผลงานวิจัยจํานวนสารนําที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งสําหรับนําไปพัฒนาเป็นยาต้านมะเร็งได้ต่อไป<-span><-o-p><-span><-p>

ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-03-30
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-03-29
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2556
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ - ยาสมุนไพรแผนปัจจุบันต้านมะเร็ง- สารนำต้านมะเร็งจากฐานข้อมูลตำรับยาสมุนไพรไทย มโนสร้อย 2
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
29 มีนาคม 2558
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตำรับยาสมุนไพรไทยต้านมะเร็งจากฐานข้อมูลคัมภีร์ตำรายาสมุนไพรไทย ปีที่ 3 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสารจากสมุนไพร (metabolites) ที่ตรวจพบในเลือดของอาสาสมัครสุขภาพดีหลังกินยาจากสมุนไพรอายุรเวทศิริราชตำรับห้าราก (AVS022) กับลักษณะการจับกลุ่มของเกล็ดเลือดเป็นรายบุคคล- โครงการ การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากสมุนไพรไทยบางชนิดในการกำจัดหอยเชอร์รี่ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสารจากสมุนไพร (metabolites) ที่ตรวจพบในเลือดของอาสาสมัครสุขภาพดีหลังกินยาจากสมุนไพรอายุรเวทศิริราชตำรับห้าราก (AVS022) กับลักษณะการจับกลุ่มของเกล็ดเลือดเป็นรายบุคคล: โครงการ การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม (ต่อเนื่องปีที่ 2) การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาข้าราชการกรมประมง การวิจัยคุณลักษณะจาเพาะต่อการแปรรูปของข้าว 84 พันธุ์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ- การใช้เทคนิคโปรตีโอมิกส์ศึกษาวิถีการผลิตโปรตีนหลักในเมล็ดข้าวและการเตรียมเปปไทด์ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเมล็ดและรำข้าว การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสมุนไพรในตำรับยาหมอพื้นบ้านในภาคเหนือตอนบน
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก