สืบค้นงานวิจัย
ฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดจากใบมะรุม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พาชื่น โพทัพ - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: ฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดจากใบมะรุม
ชื่อเรื่อง (EN): Anti-inflammatory effect of Moringa oleifera leaves extract
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พาชื่น โพทัพ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์หลักของโครงงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาคุณสมบัติการต้านการอักเสบของสารสกัดจากใบมะรุม วัตถุประสงค์ย่อย ประกอบด้วย 6.1 เพื่อสกัดสารจากใบมะรุม 6.2 เพื่อทดสอบวิเคราะห์คุณสมบัติของสารสกัดจากใบมะรุมในการต้านการอักเสบ 6.3 เพื่อทดสอบความเป็นพิษของสารสกัดต่อเซลล์เพาะเลี้ยงและเซลล์เม็ดเลือดขาว 6.4 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากใบมะรุม 6.5 เพื่อทดสอบคุณสมบัติต้านการอักเสบของผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากใบมะรุม 6.6 เพื่อทดสอบความเป็นพิษของสารสกัดต่อเซลล์เพาะเลี้ยงและเซลล์เม็ดเลือดขาวของผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากใบมะรุม
บทคัดย่อ (EN): No information found from agency.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2560-10-09
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561-10-08
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: วัตถุประสงค์หลักของโครงงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาคุณสมบัติการต้านการอักเสบของสารสกัดจากใบมะรุม วัตถุประสงค์ย่อย ประกอบด้วย 6.1 เพื่อสกัดสารจากใบมะรุม 6.2 เพื่อทดสอบวิเคราะห์คุณสมบัติของสารสกัดจากใบมะรุมในการต้านการอักเสบ 6.3 เพื่อทดสอบความเป็นพิษของสารสกัดต่อเซลล์เพาะเลี้ยงและเซลล์เม็ดเลือดขาว 6.4 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากใบมะรุม 6.5 เพื่อทดสอบคุณสมบัติต้านการอักเสบของผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากใบมะรุม 6.6 เพื่อทดสอบความเป็นพิษของสารสกัดต่อเซลล์เพาะเลี้ยงและเซลล์เม็ดเลือดขาวของผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากใบมะรุม
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดจากใบมะรุม
มหาวิทยาลัยนเรศวร
8 ตุลาคม 2561
ผลของสารสกัดจากใบมะรุมต่อเซลล์ทีลิมโฟไซต์ของมนุษย์ การศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบและฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดโคนต้นหม่อน ผลของสารสกัดจากใบมะรุมสายพันธุ์ Moringa oleifera Lam. ต่อเซลล์ทีลิมโฟไซต์ที่อยู่ในภาวะเครียดออกซิเดชั่น ฤทธิ์ต้านการอักเสบของข้อและต้านหลอดเลือดแข็งของสารสกัดพิกัดนวโกฐในหนูที่กระตุ้นการอักเสบของข้อด้วยคอลลาเจน ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันทางชีวภาพของสารสกัดจากผักช้าเลือด เพื่อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์การต้านจุลชีพของสารสกัดจากใบมะกรูด การศึกษาปริมาณสารฟินอลลิกส์ทั้งหมด สมบัติในการต้านอนุมูลอิสระและสารสำคัญในสารสกัดหยาบจากหนอนตายหยาก ผลของสารสกัดหยาบจากใบมะรุมต่อการแสดงออกของยีนก่อมะเร็งในเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว การกักเก็บสารสกัดหยาบจากเปลือกส้มโอ เพื่อต้านอนุมูลอิสระ และต้านจุลินทรีย์ในการยืดอายุการเก็บรักษากุ้งขาว การศึกษาฤทธิ์ต้านอักเสบและผลของอุณหภูมิการคั้นต่อคุณภาพน้ำคั้นใบย่านาง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก