สืบค้นงานวิจัย
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ไวแสง ด้วยวิธีการผสมกลับ โดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลระบุตำแหน่งยีนในการคัดเลือก
มัลลิกา จินดาซิงห์ - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ไวแสง ด้วยวิธีการผสมกลับ โดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลระบุตำแหน่งยีนในการคัดเลือก
ชื่อเรื่อง (EN): Breeding of Hawm Gra Dang Ngah rice for photoperiod insensitivity by using molecular marker-assisted Backcrossing
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: มัลลิกา จินดาซิงห์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Manlika Jindasing
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สุทธิรักษ์ ผลเจริญ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Suttirak Plonjarean
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ข้าวพันธุ์หอมกระดังงาเป็นพันธุ์ข้าวพื้นเมืองที่มีการปลูกในจังหวัดนราธิวาสมาอย่างยาวนาน จุดเด่นของข้าวพันธุ์นี้คือ จะมีกลิ่นหอมคล้ายดอกกระดังงาและยังมีคุณค่าทางโภชนาการสูง แต่เป็นข้าวที่ไวต่อช่วงแสงทาให้ข้าวออกดอกไม่พร้อมกัน แตกกอน้อย ลาต้นสูง จึงเกิดแนวคิดในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ให้ไวต่อช่วงแสง โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลมาช่วยคัดเลือกลักษณะความไม่ไวแสงของข้าว การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องหมายโมเลกุลที่ยึดติดกับยีนไม่ไวแสง Hd1 ในรุ่นที่ 1 ของคู่ผสมระหว่างข้าวไวแสงพันธุ์หอมกระดังงา เป็นพันธุ์รับและข้าวไม่ไวแสงพันธุ์ กข55 เป็นพันธุ์ให้ ผลการทดลองพบเครื่องหมายโมเลกุลที่แสดงแถบดีเอ็นเอแตกต่างกันระหว่างพันธุ์รับหอมกระดังงา กับพันธุ์ให้ กข55 และเมื่อตรวจสอบจีโนไทป์ พบว่าเครื่องหมาย RM19776 เป็นตัวคัดเลือกความไม่ไวแสงของข้าวเป็นเครื่องหมายโมเลกุลชนิด SSR Marker ที่เป็นยีนแฝงยึดติดกับยีนไม่ไวแสง Hd1 ที่แสดงแถบ ดีเอ็นเอแตกต่างกันระหว่างพันธุ์รับหอมกระดังงา กับพันธุ์ให้ กข55 ดังนั้น การใช้เครื่องหมายโมเลกุลที่มีความสัมพันธ์กับยีนไม่ไวแสง Hd1 สามารถใช้ประโยชน์ในการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ให้ไวแสงต่อไปได้
บทคัดย่อ (EN): Hawm Gra Dang Ngah rice is a native rice variety planted in Narathiwat Province for a long time. The highlight of this rice is Ylang ylang fragrance and it also has a high nutritional value. The rice is sensitive to light. Rice is not blooming simultaneously crack high stems. The concept of breeding Hawm Gra Dang Ngah rice is not sensitive to light by molecular markers to select the non-sensitivity light phenotype. This experiment was designed to investigate the relationship between molecular markers linked to Hd1 non-sensitivity light gene in F1 generation of the hybrid strain between Hawm Gra Dang Ngah and. RD55 variety. The results showed that the molecular markers exhibited different DNA strands between Hawm Gra Dang Ngah and RD 55. RM19776 was selected as a photoperiod insensitivity of rice as a marker of SSR Marker, a latent gene affixed to the non-Hd1 gene, showing different DNA bands between cultivars of Hawm Gra Dang Ngah and RD55. Therefore, the use of molecular markers related to photoperiod insensitivity Hd1 genes can be used to develop Hawm Gra Dang Ngah rice strains that are not sensitive to light.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-60-075/61-080
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 287,600
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2561
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ไวแสง ด้วยวิธีการผสมกลับ โดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลระบุตำแหน่งยีนในการคัดเลือก
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2561
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ไวแสง ชั่วที่1 โดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลระบุตำแหน่งยีนในการคัดเลือก การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเหนียวหอมจากข้าวเจ้าด้วยวิธีผสมกลับโดยใช้ เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีแอนโทไซยานินสูงโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือกเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเหนียวพันธุ์ กข.6 ให้ไม่ไวแสง โดยวิธี molecular marker-assisted backerossing เพื่อปลูกในฤดูนาปรัง การศึกษาพันธุ์ขั้นต้นและการทดสอบผลผลิตของข้าวเหนียวหอมจากข้าวเจ้าพันธุ์สุพรรณบุรี 1 และชัยนาท 80 ที่ได้จากวิธีผสมกลับโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก ผลของอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลงความหนืด ของข้าวพันธุ์ต่างๆ การรวบรวมพันธุ์ และการศึกษาลักษณะประจำพันธุ์,การตอบสนองต่อช่วงแสงในการออกดอกและการผสมเกสรของเบญจมาศเพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ ผลของการใช้วัสดุอินทรีย์เหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อการปรับปรุงดินต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวหอมกระดังงา (สายพันธุ์พื้นเมือง) ศึกษาการแสดงออกของยีนที่แตกต่างกันของปทุมมาที่ปลูกภายใต้วันสั้นและวันยาวโดยการวิเคราะห์ลำดับเบสของ RNA

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก