สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชคลุมดินในพื้นที่มหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อประยุกต์ใช้ในการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบ ไหลนอง
สุขทัย พงศ์พัฒนศิริ, โสมนัส สมประเสริฐ - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชคลุมดินในพื้นที่มหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อประยุกต์ใช้ในการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบ ไหลนอง
ชื่อเรื่อง (EN): Ground-cover Plants biodiversity study in University of Phayao area for application in overland-flow wastewater treatment system
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: กว๊านพะเยาเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำนานาชาติและเป็นแหล่งน้ำผิวดินที่มีความสำคัญของลุ่มน้ำอิง ซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรของชุมชนภาคเหนือตอนบนโดยกว๊านพะเยาเป็นแหล่งน้ำที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่การเกษตรและชุมชนเมือง ได้ทำการสำรวจตัวแทนลำน้ำต้นน้ำที่ไหลลงสู่กว๊านพะเยา 5 โซน ใน 3 ลำน้ำ ได้แก่ ลำน้ำแม่ใส ลำน้ำสันป่าถ่อนและลำน้ำแม่ต๋ำ จากผลการวิเคราะห์พบว่าปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำสูงสุดคือคือ 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภาระบรรทุกบีโอดี พบว่า มีภาระบรรทุกของบีโอดีสูงที่สุดคือ 1,834 กิโลกรัมต่อวัน แอมโมเนียไนโตรเจนสูงที่สุดคือ 2.53 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งเกินมาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินจึงทำให้ส่งผลกระทบต่อความสมดุลทางระบบนิเวศกว๊านพะเยาตลอดจนเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยพะเยาที่ต้องเฝ้าระวังคุณภาพน้ำต่อไป
บทคัดย่อ (EN): Kwan Phayao Lake is International wetland, resources of Thai Northern and it important of Ing River. Kwan Phayao is surrounded by agricultural areas and community of Phayao people. The monitoring in Upstream to Downstream Towards Kwan Phayao parting in 5 zone in 3 upstream. Found highest 5 mg/l and highest 1,834 kg/day of BOD. The highest NH3 is 2.53 mg/l, it exceeded of water quality standards. The water quality will be social responsibility continue monitoring by University of Phayao.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชคลุมดินในพื้นที่มหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อประยุกต์ใช้ในการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบ ไหลนอง
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2557
ความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศบนบกในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยาจังหวัดพะเยา ความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำ และพืช ความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศบนบกในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชเขื่อนสิริกิติ์จังหวัดอุตรดิตถ์ การศึกษาความหลากหลายและโครงสร้างของสังคมพืชบริเวณพื้นที่เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โครงการสื่อความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังและพื้นที่ใกล้เคียงทะเลอันดามัน โครงการสื่อความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังและพื้นที่ใกล้เคียงทะเลอันดามัน แนวโน้มตลาดอาหารเสริมสุขภาพจากพืช ฐานข้อมูลจีโนไทป์ของเชื้อพันธุกรรมพืชตระกูลแตง ความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศทางน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา ความหลากหลายของเชื้อราจากดิน ซากพืชและการนำไปใช้ประโยชน์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก