สืบค้นงานวิจัย
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง
ชไมพร แก้วศรีทอง - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง
ชื่อเรื่อง (EN): Variation of Water Quality in Thale Noi, Phattalung Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชไมพร แก้วศรีทอง
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Chamaiporn Kaewsrithong
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาคุณภาพน้ำในทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง ดำเนินการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำ จำนวน 9 จุดสำรวจ ในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง ระหว่างเตือนธันวาคม 2551 ถึงกันยายน 2552 จำนวน 4 ครั้ง พบว่ทะเลน้อย มีความลึกน้ำเฉลี่ย 1.05:0.42 เมตร ค่าเฉลี่ยดัชนีคุณภาพน้ำทางกายภาพ และทางเคมี มีผลตังนี้ คือ อุณหภูมิน้ำ 28.711.4 องศาเซลเซียส ความโปร่งแสง 52.50+27.70 เชนติเมตร ความวุ่นใส 10.30t8.99 เอฟทียู การนำไฟฟ้า 103.99:64.04 ไมโครเมนต์ต่อเชนติเมตร ปริมาณ สารแชวนลอยทั้งหมด 0.024-0.060 มิสสิกรัมต่อสิตร และปริมาณของแข็งที่ละลายทั้งหมด 51.7 7+32.18 มิลลิกรัมต่อลิตร ความเค็ม 0.0 พีพีที ความป็นกรดเป็นต่าง 7.05:0.5 7 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ 5.7 1:2.19 มิลลิกรัมต่อลิตร ความเป็นด่าง 22.07*6.03 มิลลิกรัมต่อลิตร ความกระต้าง 31.39+11.64 มิลลิกรัมต่อลิตร คาร์บอนไดออกไซด์อิสระ 6. 12:5.41 มิลสิกรัม ต่อลิตร แอมโมเนียไนโตรเจน 0.0226:0.031 1 มิลสิกรัมต่อลิตร ในไตรท์ไนตรเจน 0.0163t0.0226 มิลลิกรัมต่อลิตร นเตรตไนโตรเจน 0.076:0.0106 มิลิกรัมต่อลิตร ออวํโฮฟอสเฟต 0.02140.031 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ฟอสฟอรัสทั้งหมด 0.0300.029 มิลลิกรั่มต่อลิตร คลอโรฟิลล์ เอ 21.26+17.04 มิสลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ตัช คุณภาพน้ำที่มีความสัมพันธ์กับจุดสำรวจ ได้แก่ คาร์บอนไตออกไซต์อิสระ ความโปร่งแสง ความชุ่นใส และการนำไฟฟ้า ส่วนตัชนีคุณภาพน้ำที่มีความสัมพันธ์กับเตือนสำรวจ ด้แก่ ปริมาณธาตุอาหารต่าง ๆ และความกระด้าง สถานภาพของ คุณภาพน้ำในทะเลน้อยจัดเป็นแหล่งน้ำประเภทที่ 2 ตามมาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดิน จากการประเมินคุณภาพน้ำโดยใช้ปัจจัย ทางกายภาพและเคมีเป็นตัวบ่งขึ้ (AARL-PC Score) พบว่า มีคุณภาพน้ำอยู่ในสถานภาพปานกลาง (oligotrophic- mesotrophic status) หรืออาจมีความอุดมสมบูรณ์สูง (eutrophic status) ซึ่งผันแปรได้ตามมลพิษต่าง ๆ ที่ระบายสู่ทะเลน้อย
บทคัดย่อ (EN): Water quality paramcters in Thale Noi. Phattalung Province were conducted at : stations, form Decembcr 2008 to September 2008. The ave verage water depth of Thale Noi was 1. 1.05+0.42 m. The results could FTU, conductivity 103,98-6404 US/C cm. total suspen be summarized as follows: water temperature 28.711.4 C. transparency 52.50427.70 cm, turbidity 10.30t8.09 4t0.060 mg/1, total dissolved solid 51 .77+32.18 mg/, salinity o.0 ppt. pH 7.05:0.57, dissolved oxygen 5.7 1t2.19 mg/, alkalinity 22.07+6. nded solid 0.022 46.03 mg /l, hardness 31.39+11.64 mg/l,free carbondioxide6.125.41 mg/l,ammonia-nitrogen 0.0226to.0311 mg/l, nitrite-nitrogen 0.0163t0.0266 mg/l,nitrate-nitrogen 0.0760.0106 mg/l,orthophosphate 0.0214-0.0311 mg/l, total phosphorus 0.03040.028 ig/l, chlorophyll-a 21. 26+17.04 mg/m. From these results, water quality paransetcrs that have the relation with sampling sites, free carbon dioxide, transpurency, turbidity and conductivity, and water quality parameters that have the relation sampling sites, various t nutrients and hardness. Status of the Thale Noi is type 2 by surface water quality standards. Assessment by AARL-PC Score showed a moderate (oligotrophic-mesotrophic status) or may have high ferility (eutrophic status), which vary according to the pollution that receiving lakes.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 143,920.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: จังหวัดพัทลุง
ช่วงเวลาที่รวบรวมข้อมูล: เตือนธันวาคม 2551 ถึงกันยายน 2552
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2552
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง
กรมประมง
30 กันยายน 2553
กรมประมง
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในแม่น้ำจันทบุรี การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในบึงบอระเพ็ด การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในแม่น้ำตาปี การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในแม่น้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช การศึกษาคุณภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา (เปลี่ยนแปลงชื่อเป็น คุณภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำกับแผนการส่งน้ำเพื่อการเกษตร กรณีศึกษา : โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษากระเสียว การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำบริเวณอ่าวไทยตอนใน การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำของพื้นที่รอบทางน้ำธรรมชาติที่ไหลเข้าอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล จังหวัดระยอง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก