สืบค้นงานวิจัย
การยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัสในกุ้งที่ติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) ด้วยเทคนิค RNA Interference (ระยะที่ 2)
ไตรวิทย์ รัตนโรจน์พงศ์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อเรื่อง: การยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัสในกุ้งที่ติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) ด้วยเทคนิค RNA Interference (ระยะที่ 2)
ชื่อเรื่อง (EN): The inhibition of white spot virus (WSSV) infection in shrimp by RNA interference (Phase 2)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ไตรวิทย์ รัตนโรจน์พงศ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Triwit Rattanarojpong
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) เป็นสาเหตุหลักของโรคไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งที่พบได้ทั่วโลก ซึ่ง สามารถทำให้กุ้งในฟาร์มเพาะเลี้ยงมีอัตราการตายสูงถึง 100% ภายใน 2-10 วัน ในปัจจุบันมีการนำเทคนิค RNAi (RNA interference) มาประยุกต์ใช้ในการป้องกันโรคโดยการยับยั้งการแสดงออกของยืนของไวรัส ใน การทดลองนี้ได้ทำการสังเคราะห์อาร์เอ็นเอสาชคู่ (dsRNA) จำนวน 6 ชนิด ที่จำเพาะกับยีนของไวรัสตัวแดง ดวงขาวซึ่งได้แก่ VP28, VP35, ICP11, dna- pol, rr2, และ ie-l ที่มีการแสดงออกในช่วงเวลาต่างๆกันหลังกุ้งติด เชื้อไวรัส มาใช้เปรียบเทียบการยับยั้งการแสดงออกของยีนไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งพบว่าอาร์เอ็นเอสายคู่ที่ ยีนของไวรัสตัวแดงดวงขาวสามารถยับยั้งการแสดงออกของยีนเหล่านี้ได้ในกุ้งที่ติดเชื้อไวรัส นอกจากนี้ระดับ การติดเชื้อตัวแดงดวงขาวรวมทั้งอัตราการตายสะสมของกุ้งขาวที่ได้รับอาร์เอ็นเอสายคู่ที่จำเพาะกับยืน rr2, dna-pol และ VP35 อยู่ในระดับที่ต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับกุ้งขาวที่ได้รับอาร์เอ็นเอสายคู่ของที่จำเพาะกับยีนอื่นๆ ของไวรัสและยีน EGFP จากงานวิจัยนี้สรุปได้ว่าอาร์เอ็นเอสาชคู่ที่จำเพาะกับยืน rr, dna-pol และ VP35 มี ความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้เป็นสารชีวโมลกุลในการป้องกันและรักษาโรคติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว ในอุตสาหกรรมพาะเลี้ยงกุ้งได้
บทคัดย่อ (EN): White spot syndrome virus (WSSV) is a major agent of white spot discase in farmed shrimp all over the world. The mortality rate of this disease is 100% within 2-10 days. RNA interference is the effective applicable strategy for inhibition of viral replication. Here, 6 different viral genes (VP28, VP35, ICPII, dna- pol, rrz and iel) expressed in the distinct point of time after viral infection were chosen to investigate their role on the replication of WSSV infection in Penaeus vannamei. All dsRNA could inhibit expression of their target genes in shrimps challenged with WSSV. Interestingly, the viral infectivity level of the shrimps treated with dsRNA specific for rr2 and VP35 was dramatically decreased when compared to that of the shrimps treated with dsRNA specific for EGFP. The data from mortality rate also suggested the same trend that the shrimps treated with dsRNA specific for rr, dna-pol and VP35 exhibited more resistant to viral infection than the shrimps treated with other dsRNA. Therefore, the results suggested that rr, dna-pol and VP35 could be promising targets for dsRNA-based therapeutics in fighting with WSSV infection in farmed shrimp.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 472,150.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2554
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัสในกุ้งที่ติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) ด้วยเทคนิค RNA Interference (ระยะที่ 2)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
30 กันยายน 2554
การศึกษาการผลิตโปรตีน VP35, viral-IAP ของไวรัสโรคตัวแดงดวงขาว โปรตีน PPAF และ shrimp-IAP ของกุ้งโดยใช้ E.coli (ระยะที่ 1) การศึกษาการผลิตโปรตีน VP35, viral-IAP ของไวรัสโรคตัวแดงดวงขาว โปรตีน PPAF และ shrimp-IAP ของกุ้งโดยใช้ E.coli (ระยะที่ 2) บทบาทของ HtrA2 serine protease ต่อการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้ง (ระยะที่ 2) การศึกษายีนของไวรัสตัวแดงดวงขาวและกุ้งกุลาดำที่เกี่ยวข้องกับกลไกการตายของเซลล์ การพัฒนาชุดตรวจ strip test ต่อโปรตีน ICP11 ของไวรัสตัวแดงดวงขาว การศึกษาการถ่ายทอดชิ้นส่วนของยีนของไวรัสตัวแดงดวงขาวที่แทรกอยู่ใน genome ของกุ้งกุลาดำโดยการสืบพันธุและบทบาทชิ้นส่วนของยีนของไวรัสดังกล่าวต่อภูมิคุ้มกันของลูกกุ้งต่อไวรัสตัวแดงดวงขาว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม และการเกิดโรคไวรัสตัวแดงดวงขาว (white spot syndrome virus, WSSV) ในกุ้งกุลาดำ การสร้างแผนที่ปฏิสัมพันธ์ของโปรตีนทั้งหมดของไวรัสตัวแดงดวงขาว การศึกษา Subtype ของเชื้อไวรัส Avian Influenza จากสัตว์ปีกในประเทศไทย การเจริญของเชื้อ Macrophomina phaseolina ในส่วนต่าง ๆ ของพืชภายหลังการติดเชื้อของราก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก