สืบค้นงานวิจัย
การป้องกันสารกำจัดวัชพืชตกค้างในการผลิตมันสำปะหลัง
ทศพล พรพรหม - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การป้องกันสารกำจัดวัชพืชตกค้างในการผลิตมันสำปะหลัง
ชื่อเรื่อง (EN): Prevention of Herbicide Residues in Cassava Production
บทคัดย่อ: การประเมินประสิทธิภาพของการใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืชชนิดต่าง ๆ เพื่อควบคุมวัชพืชในมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 ในสภาพไร่ วางแผนการทดลองแบบ RCBD จำนวน 4 ซ้ำ หลังจากปลูกมันสำปะหลังทำการฉีดพ่นสารที่ใช้แบบก่อนงอก เมื่อมันสำปะหลังมีอายุที่ 21 วันหลังจากปลูก ทำการฉีดพ่นสารที่ใช้แบบหลังงอก เปรียบเทียบกับการกำจัดวัชพืชด้วยแรงงานคนและวิธีไม่กำจัดวัชพืช การบันทึกข้อมูลโดยพิจารณาจากประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช ความเป็นพิษ และการตอบสนองทางสรีรวิทยาของพืชที่มีต่อสาร ผลของการใช้สารแบบก่อนงอกเพื่อควบคุมวัชพืชในมันสำปะหลัง พบว่า สาร pendimethalin 3,125 g a.i./ha และ metribuzin 750 g a.i./ha มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชได้ดีที่สุด ให้ผลดีในการควบคุมผักเสี้ยนผี ผักยาง ปอวัชพืช เปล้าทุ่ง หญ้าตีนติด และหญ้าตีนนก นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาการใช้สารแบบหลังงอก พบว่า สาร haloxyfop-R-methyl ester 750 g a.i./ha และ quizalofop-p-ethyl 750 g a.i./ha มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชได้ดีที่สุด ให้ผลดีในการควบคุมหญ้าชันอากาศ หญ้าตีนติด หญ้าตีนนก หญ้านกสีชมพู และหญ้าปากควาย จากผลการทดลองพบว่าไม่มีความเป็นพิษและไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งการศึกษาในขั้นตอนต่อไป จะทำการพิจารณาสารป้องกันกำจัดวัชพืชที่อาจจะมีการตกค้างในการผลิตมันสำปะหลัง เพื่อที่จะช่วยในการอธิบายเกี่ยวกับความปลอดภัยทางด้านอาหารต่อไปการประเมินประสิทธิภาพของการใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืชชนิดต่าง ๆ เพื่อควบคุมวัชพืชในมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 ในสภาพไร่ วางแผนการทดลองแบบ RCBD จำนวน 4 ซ้ำ หลังจากปลูกมันสำปะหลังทำการฉีดพ่นสารที่ใช้แบบก่อนงอก เมื่อมันสำปะหลังมีอายุที่ 21 วันหลังจากปลูก ทำการฉีดพ่นสารที่ใช้แบบหลังงอก เปรียบเทียบกับการกำจัดวัชพืชด้วยแรงงานคนและวิธีไม่กำจัดวัชพืช การบันทึกข้อมูลโดยพิจารณาจากประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช ความเป็นพิษ และการตอบสนองทางสรีรวิทยาของพืชที่มีต่อสาร ผลของการใช้สารแบบก่อนงอกเพื่อควบคุมวัชพืชในมันสำปะหลัง พบว่า สาร pendimethalin 3,125 g a.i./ha และ metribuzin 750 g a.i./ha มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชได้ดีที่สุด ให้ผลดีในการควบคุมผักเสี้ยนผี ผักยาง ปอวัชพืช เปล้าทุ่ง หญ้าตีนติด และหญ้าตีนนก นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาการใช้สารแบบหลังงอก พบว่า สาร haloxyfop-R-methyl ester 750 g a.i./ha และ quizalofop-p-ethyl 750 g a.i./ha มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชได้ดีที่สุด ให้ผลดีในการควบคุมหญ้าชันอากาศ หญ้าตีนติด หญ้าตีนนก หญ้านกสีชมพู และหญ้าปากควาย จากผลการทดลองพบว่าไม่มีความเป็นพิษและไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งการศึกษาในขั้นตอนต่อไป จะทำการพิจารณาสารป้องกันกำจัดวัชพืชที่อาจจะมีการตกค้างในการผลิตมันสำปะหลัง เพื่อที่จะช่วยในการอธิบายเกี่ยวกับความปลอดภัยทางด้านอาหารต่อไป
บทคัดย่อ (EN): Field experiments were conducted to evaluate the efficacy of diverse herbicides to control weeds in cassava variety Rayong 5. A randomized complete block design with four replications was used in the experiment. All the pre-emergence herbicides were applied within one day of seeding. The post-emergence herbicides were applied up to the twenty-first day of the cassava growth subsequent to planting compared with a hand weeding control and a weedy control. The data recorded included weed cover score, crop injury and the physiological response of cassava to herbicides. The results revealed all herbicides to own dissimilar levels of effectiveness in control weed. Pendimethalin 3,125 g a.i./ha and metribuzin 750 g a.i./ha showed the best efficacy used as pre-emergence herbicides for weed control in Brachiaria reptans (L.) Gard. & C.E. Hubb., Cleome viscose L., Corchorus aestuans L., Croton bonplandianus Baill., Digitaria adscendens (H.B.K.) Henr. and Euphorbia heterophylla L. In addition, haloxyfop-R-methyl ester 750 g a.i./ha and quizalofop-p-ethyl 750 g a.i./ha showed the best efficacy used as post-emergence herbicides for weed control in Brachiaria reptans (L.) Gard. & C.E. Hubb., Dactyloctenium aegyptium (L.) P. Beauv., Digitaria adscendens (H.B.K.) Henr., Echinochloa colona (L.) Link and Panicum repens L. Results show no visible crop injury and growth response to cassava subsequent to herbicide application. Further investigations are called for as to allow an investigation into the significance of herbicide residues as to improve the food safety cassava production.Field experiments were conducted to evaluate the efficacy of diverse herbicides to control weeds in cassava variety Rayong 5. A randomized complete block design with four replications was used in the experiment. All the pre-emergence herbicides were applied within one day of seeding. The post-emergence herbicides were applied up to the twenty-first day of the cassava growth subsequent to planting compared with a hand weeding control and a weedy control. The data recorded included weed cover score, crop injury and the physiological response of cassava to herbicides. The results revealed all herbicides to own dissimilar levels of effectiveness in control weed. Pendimethalin 3,125 g a.i./ha and metribuzin 750 g a.i./ha showed the best efficacy used as pre-emergence herbicides for weed control in Brachiaria reptans (L.) Gard. & C.E. Hubb., Cleome viscose L., Corchorus aestuans L., Croton bonplandianus Baill., Digitaria adscendens (H.B.K.) Henr. and Euphorbia heterophylla L. In addition, haloxyfop-R-methyl ester 750 g a.i./ha and quizalofop-p-ethyl 750 g a.i./ha showed the best efficacy used as post-emergence herbicides for weed control in Brachiaria reptans (L.) Gard. & C.E. Hubb., Dactyloctenium aegyptium (L.) P. Beauv., Digitaria adscendens (H.B.K.) Henr., Echinochloa colona (L.) Link and Panicum repens L. Results show no visible crop injury and growth response to cassava subsequent to herbicide application. Further investigations are called for as to allow an investigation into the significance of herbicide residues as to improve the food safety cassava production.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การป้องกันสารกำจัดวัชพืชตกค้างในการผลิตมันสำปะหลัง
ทศพล พรพรหม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2556
อาหารจากมันสำปะหลัง การศึกษาผลตกค้างของสารกำจัดวัชพืชในดินและผลผลิตสับปะรด การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง อิทธิพลของสาร paclobutazol ต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตมันสำปะหลัง แนวทางการลดต้นทุนการผลิตมันสำปะหลังและพัฒนาเครือข่ายของเกษตรกรผู้ผลิตมันสำปะหลังจังหวัดนครราชสีมา การใช้เทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรโครงการหมู่บ้านมันสำปะหลังพัฒนาในจังหวัดนครราชสีมา ผลของการใช้มันสำปะหลังต่อผลผลิตของไก่พื้นเมือง การจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังผงกึ่งสำเร็จรูปจากมันสำปะหลังสายพันธุ์หวาน การเปรียบเทียบผลผลิตมันสำปะหลังในสภาพไร่เกษตร
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก