สืบค้นงานวิจัย
สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำในเขตชายฝั่ง 10 ไมล์ทะเล บริเวณอ่าวไทย
อุดมสิน อักษรผอบ, วิรัตน สนิทมัจโร, ปิยะโชค สินอนันต์, คณิต เชื้อพันธุ์, ขวัญชัย ปานแก้ว - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำในเขตชายฝั่ง 10 ไมล์ทะเล บริเวณอ่าวไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Status of marine resources in 10 nautical-mile inshore area, the Gulf of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ึกษาทรัพยากรสัตว?น้ําบริเวณอ?าวไทยครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต?อ?าวไทยฝ??งตะวันออก อ?าวไทยตอนใน อ?าวไทยตอนกลาง จนถึงอ?าวไทยตอนล?าง โดยแบ?งสถานีศึกษาตามระยะห?างฝ??งตั้งแต? 1.6-3.0 3.0-5.0 และ 5.0-10.0 ไมล?ทะเล ตลอดแนวชายฝ??งอ?าวไทย แนวเขตละ 20 สถานี รวมทั้งสิ้น 60 สถานี ด?วยเครื่องมือ อวนลากแผ?นตะเฆ? ขนาดตาอวนก?นถุง 25 มิลลิเมตร โดยเรือสํารวจประมง 1 2 9 และ 16 ในช?วงเดือน พฤศจิกายน 2552 - สิงหาคม 2553 ทําการลากอวน 213 ครั้ง ครอบคลุมระดับความลึกน้ํา 1 2-26 เมตร ผลวิเคราะห?อัตราการจับสัตว?น้ําในเขตชายฝ??งทั้งหมดเฉลี่ย เท?ากับ 27.56 กก./ชม. ประกอบด?วยกลุ?มปลาเป?ด แท?สูงสุด ร?อยละ 50.76 รองลงมา คือ กลุ?มปลาหน?าดิน ร?อยละ 21.29 ปลาหมึก ร?อยละ 14.33 ปลาผิวน้ํา ร?อยละ 6.05 สัตว?น้ําเศรษฐกิจอื่นๆ ร?อยละ 4.34 ปู ร?อยละ 2.88 และกุ?ง ร?อยละ 0.35 โดยพบว?ามีอัตรา การจับเฉลี่ยของสัตว?น้ําสูงสุดในเขต 1.6-3.0 ไมล?ทะเล เท?ากับ 31.76 กก./ชม. ประกอบด?วยกลุ?มปลาเป?ดแท? สูงสุด ร?อยละ 52.48 รองลงมา คือ กลุ?มปลาหน?าดิน ร?อยละ 19.93 ปลาหมึก ร?อยละ 14.16 ปลาผิวน้ํา ร?อยละ 6.15 ปู ร?อยละ 4.18 สัตว?น้ําเศรษฐกิจอื่นๆ ร?อยละ 2.63 และกุ?ง ร?อยละ 0.47 เขต 3.0-5.0 ไมล?ทะเล มีอัตรา การจับเฉลี่ยรองลงมา เท?ากับ 26.41 กก./ชม. ประกอบด?วยกลุ?มปลาเป?ดแท?สูงสุด ร?อยละ 54.21 รองลงมา คือ กลุ?มปลาหน?าดิน ร?อยละ 19.05 ปลาหมึก ร?อยละ 13.95 ปลาผิวน้ํา ร?อยละ 5.48 สัตว?น้ําเศรษฐกิจอื่นๆ ร?อยละ 3.87 ปูร?อยละ 3.07 และกุ?ง ร?อยละ 0.37 และเขต 5.0-10.0 ไมล?ทะเล มีอัตราการจับเฉลี่ยของสัตว?น้ํา ต่ําที่สุด เท?ากับ 24.99 กก./ชม. ประกอบด?วยกลุ?มปลาเป?ดแท?สูงสุด ร?อยละ 45.58 รองลงมา คือ กลุ?มปลา หน?าดิน ร?อยละ 24.86 ปลาหมึก ร?อยละ 14.89 ปลาผิวน้ํา ร?อยละ 6.49 สัตว?น้ําเศรษฐกิจอื่นๆ ร?อยละ 6.61 ปู ร?อยละ 1.29 และกุ?ง ร?อยละ 0.2 โดยมีอัตราการจับเฉลี่ยสูงสุดบริเวณอ?าวไทยตอนกลาง เท?ากับ 37.39 กก./ชม. รองลงมา คือ อ?าวไทยฝ??งตะวันออก อ?าวไทยตอนล?าง และอ?าวไทยตอนใน เท?ากับ 37.32 27.13 และ 15.21 กก./ชม. ตามลําดับ โดยที่อัตราการจับเฉลี่ยของสัตว?น้ําทั้งหมด กลุ?มปลาผิวน้ํา ปลาหน?าดิน ปลาหมึก กุ?ง สัตว?น้ําเศรษฐกิจอื่นๆ และกลุ?มปลาเป?ดแท?ในแต?ละเขตมีค?าไม?แตกต?างกัน ส?วนกลุ?มปูแต?ละเขต มีค?าแตกต?างกันอย?างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบอัตราการจับเฉลี่ยระหว?างพื้นที่ พบว?า สัตว?น้ําทั้งหมดกลุ?มปลาผิวน้ํา ปลาหมึก กุ?ง ปู และกลุ?มปลาเป?ดแท? มีอัตราการจับเฉลี่ยแต?ละพื้นที่ไม?แตกต?างกัน ส?วนกลุ?มปลาหน?าดิน และสัตว?น้ําเศรษฐกิจอื่นๆ พบว?ามีอัตราการจับเฉลี่ยสูงบริเวณอ?าวไทยฝ??งตะวันออก และ มีความแตกต?างกับบริเวณอื่นๆ อย?างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สัตว?น้ําทั้งหมดมีอัตราการจับเฉลี่ยราย สถานีอยู?ในช?วง 6.50-212.20 กก./ชม. พบชุกชุมสูงบริเวณหน?าจังหวัดตราด จันทบุรี บริเวณแนวใกล?ฝ??งจังหวัด ชุมพร สุราษฎร?ธานี หน?าอําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และหน?าจังหวัดสงขลา ปลาที่มีความสําคัญ 3 ทางเศรฐกิจ เช?น ปลาทรายแดงโม?ง ( Nemipterus hexodon) ปลาตาหวานชนิด Priacanthus tayenus ปลาปากคมชนิด Saurida elongata และ S. undosquamis และสัตว?น้ําอื่นๆ เช?น หมึกกล?วยชนิด Photololigo chinensis มีขนาดความยาวเฉลี่ยและขนาดที่แรกจับได?น?อยกว?าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ? และเป?น ปลาที่มีขนาดเล็กมากกว?าร?อยละ 80
บทคัดย่อ (EN): Study on marine resources in the Gulf of Thailand covering the area from Trad Province to Narathiwat Province, was carried out by fishery research vessel Pramong 16, Pramong 2, Pramong 1 and Pramong 9 which was otter board trawler with 25 mm mesh size of cod-end net. The 213 successful hauls were conducted during November 2009 - August 2010 at 60 stations, separate in 3 zones ; 1.6-3.0, 3.0-5.0 and 5.0-10.0 nautical mile from shore line covering the 12-26 meter depth zone. The overall average catch per unit effort (CPUE) was 27.56 kg/hr. The catch composition of marine resources consisted of true trash fish 50.76%, demersal fish 21.29%, cephalopods 14.33%, pelagic fish 6.05%, miscellaneous species 4.34%, crabs 2.88 % and shrimps 0.35%. The highest average catch rate (CPUE) was 31.76 kg/hr in 1.6-3.0 nm area consisted of true trash fish 52.48%, demersal fish 19.93%, cephalopods 14.16%, pelagic fish 6.15%, crabs 4.18 %, miscellaneous species 2.63% and shrimps 0.47%. The CPUE in 3.0-5.0 nm was 26.41kg/hr. consisted of true trash fish 54.21%, demersal fish 19.05 %, cephalopods 13.95 %, pelagic fish 5.48 %, miscellaneous species 3.87 %, crabs 3.07% and shrimps 0.37 %. The CPUE in 5.0-10.0 nm areas was 24.99 kg/hr. consisted of true trash fish 45.58%, demersal fish 24.36 %, cephalopods 14.89 %, pelagic fish 6.49 %, miscellaneous species 6.61 %, crabs 1.29 %, and shrimps 0.2%. The highest CPUE was 37.39 kg/hr in the central Gulf area. The CPUE in eastern Gulf area, southern Gulf area and upper Gulf area were 37.32, 27.13 and 15.21 kg/hr, respectively. The average CPUE of each groups of total catch, pelagic fish, demersal fish, cephalopods, shrimps, miscellaneous species and true trash fish were non-significant difference among the zones; while the average CPUE of group of crabs was significant (p80% of total number of fish
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
เอกสารแนบ: http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/291417
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำในเขตชายฝั่ง 10 ไมล์ทะเล บริเวณอ่าวไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2554
เอกสารแนบ 1
กรมประมง
สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำในเขตชายฝั่ง 10 ไมล์ทะเลบริเวณ ฝั่งทะเลอันดามัน ความชุกชุมและการแพร่กระจายของปลาวัยอ่อนวงศ์ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจในเขตชายฝั่ง 10 ไมล์ทะเล บริเวณอ่าวไทย สภาวะแวดล้อมเขตชายฝั่งในอ่าวไทย สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากเรือสำรวจประมงในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สภาวะการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมืออวนล้อมจับในมหาสมุทรอินเดีย สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมือประมงพื้นบ้านบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันของไทย สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน การปนเปื้อนของปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนรวมในน้ำทะเลตะกอนดิน และสัตว์ทะเลบริเวณอ่าวไทยตอนบนกับมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมือประมงพาณิชย์ประกอบแสงไฟตามระยะห่างฝั่งทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย พ.ศ.2554 ความหลากหลายทางชนิดของฟองน้ำทะเลที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันตก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก