สืบค้นงานวิจัย
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำบริเวณอ่าวไทยตอนใน
จินดา ซ้ายเกลี้ยง, ไพรัช เถาชาลีย์, ทัศวรรณ ขาวสีจาน, เกสร เทียรพิสุทธิ์, ศราวุธ วันระยานนท์ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำบริเวณอ่าวไทยตอนใน
ชื่อเรื่อง (EN): Seawater quality variation in the Inner Gulf of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ศึกษาคุณภาพน้า สารอาหาร และโลหะหนักในน้า บริเวณชายหาดบางแสน ปากแม่น้าอ่าวไทยตอนใน และแหล่งประมงทะเลอ่าวไทยตอนใน ช่วงเดือนมกราคม มีนาคม พฤษภาคม และกรกฎาคมปี 2554 – 2555 พบว่า บริเวณชายหาดบางแสนและปากแม่น้าอ่าวไทยตอนใน อุณหภูมิมีค่าอยู่ในช่วง 25.84 - 32.49 องศาเซลเซียส ความเค็ม 2.85 - 33.06 ppt ความเป็นกรดด่าง 6.85 - 7.93 ปริมาณแอมโมเนีย 0.003 - 1.720 มิลลิกรัมไนโตรเจนต่อลิตร ปริมาณไนไตรท์ 0.001 - 0.379 มิลลิกรัมไนโตรเจนต่อลิตร ปริมาณไนเตรท 0.001 - 1.215 มิลลิกรัมไนโตรเจนต่อลิตร ปริมาณฟอสเฟต 0.001 - 0.876 มิลลิกรัมฟอสฟอรัสต่อลิตร ปริมาณปรอท Non - Detect (ND) -0.019 ไมโครกรัมต่อลิตร ปริมาณแคดเมียม 0.004 - 0.129 ไมโครกรัมต่อลิตร ปริมาณตะกั่ว 0.006 - 0.490 ไมโครกรัมต่อลิตร ปริมาณทองแดง 0.027 - 7.236 ไมโครกรัมต่อลิตร และสังกะสี ND -9.080 ไมโครกรัมต่อลิตรคุณภาพน้าบริเวณชายหาดบางแสนและปากแม่น้าอ่าวไทยตอนในยังมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าทะเล ยกเว้นแอมโมเนียและไนเตรทในบางเดือนที่มีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน บริเวณแหล่งประมงอ่าวไทยตอนใน อุณหภูมิมีค่าอยู่ในช่วง 27.24 - 30.17 องศาเซลเซียส ความเค็ม 31.92 - 33.58 ppt ความเป็นกรดด่าง 7.77 - 7.94 ปริมาณปรอท Non - Detect (ND) -0.014 ไมโครกรัมต่อลิตร ปริมาณแคดเมียม 0.975 - 3.151 ไมโครกรัมต่อลิตร ปริมาณตะกั่ว 0.253 - 2.441 ไมโครกรัมต่อลิตร ปริมาณทองแดง 0.027 - 7.236 ไมโครกรัมต่อลิตร และสังกะสี 0.975-9.282 ไมโครกรัมต่อลิตร คุณภาพน้าบริเวณอ่าวไทยตอนในยังอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าทะเล
บทคัดย่อ (EN): Study on water quality, nutrient, heavy metal in the Inner Gulf of Thailand were conducted by collecting the data at Bangsaen beach, mouth of the main river and survey stations in the Inner Gulf of Thailand during 2011 - 2012. The result showed that Bangsaen beach and mouth of the main river, temperature ranged from 25.84 to 32.49 ?C, salinity was ranged from 2.85 to 33.06ppt, pH ranged from 6.85 to 7.93, ammonia ranged from 0.003 to 1.720 mg-N/L, nitrite ranged from 0.001 to 0.379 mg-N/L, nitrate ranged from 0.001 to 1.215mg-N/L,phosphate varied from 0.001 to 0.876 mg-P/L, mercury was Non-Detect (ND) -0.019?g/L cadmium was 0.004 - 0.129 ?g/L, lead was 0.006-0.490 ?g/L, copper was 0.027 - 7.236 ?g/L and zinc was ND-9.080 ?g/L. Water quality at Bangsaen beach and mouth of the main river was lower than the standard, except ammonia and nitrate. In the fishing ground around Inner Gulf of Thailand, temperature was 27.24 - 30.17 ?C, salinity was 31.92-33.58 ppt, pH was 67.77 - 7.94, mercury was nd -0.014 ?g/L, cadmium was 0.975 - 3.151 ?g/L, lead was 0.253 - 2.441 ?g/L, copper was 0.027-7.236?g/L and zinc was 0.975 - 9.282 ?g/L. Water quality around Inner Gulf of Thailand was lower than the standard level.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-12-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำบริเวณอ่าวไทยตอนใน
กรมประมง
31 ธันวาคม 2555
กรมประมง
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำในบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย การเปลี่ยนแปลงสภาวะทรัพยากรประมงบริเวณอ่าวไทยตอนใน ทรัพยากรประมงจากการประมงพื้นบ้านบริเวณอ่าวไทยตอนใน การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำและปริมาณแพลงก์ตอนบริเวณอ่าวมะนาว จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สภาวะแวดล้อมเขตชายฝั่งในอ่าวไทย การประมงลอบหมึกบริเวณอ่าวไทยตอนใน ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของหมึกสายขาว (Amphioctopus aegina (Gray, 1849)) บริเวณอ่าวไทยตอนใน การศึกษาการจัดทำธนาคารปูม้า บริเวณอ่าวไทยตอนใน โครงการศึกษาสถานภาพสิ่งแวดล้อมทางน้ำบริเวณอ่าวกะเปอร์ จังหวัดระนอง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก