สืบค้นงานวิจัย
โครงการย่อยที่2 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักจากกากมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตข้าวแบบอินทรีย์ ในกลุ่มเกษตรกร รายย่อยของอําเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์
สุธีรา สุนทรารักษ์, สุพัทรา แตงทับทิม - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ชื่อเรื่อง: โครงการย่อยที่2 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักจากกากมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตข้าวแบบอินทรีย์ ในกลุ่มเกษตรกร รายย่อยของอําเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์
ชื่อเรื่อง (EN): The Development on Cassava Pulp Composting Technology in Supporting Organic Rice Production System on Smallholder Farmers at Pa Kham Distric, Buriram Provinces.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของศึกษาผลของปุ๋ยหมักอินทรีย์จากกากมันสำปะหลังที่มีต่อสภาพดินและผลผลิตของข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 (Oryza sativa L.) โดยการวางแผน การทดลองแบบ Complete Randomize Design (CRD) ทำการศึกษาในกระถาง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 เซนติเมตร จำนวน 4 ทรีตเมนต์ๆ ละ 5 ซ้ำ กระถางๆ ละ 5 ต้น ในการปักดำ โดยประกอบด้วย ดินเดิม (ชุดควบคุม), ดินเดิม + ปุ๋ยเคมี, ดินเดิม + ปุ๋ยหมักอินทรีย์จากกากมันสำปะหลัง และดินเดิม + ปุ๋ยเคมี + ปุ๋ยหมักอินทรีย์จากกากมันสำปะหลัง และดำเนินการเก็บตัวอย่างดิน เพื่อวิเคราะห์หาสมบัติทางเคมี 2 ครั้ง คือ ก่อนการทดลอง และสิ้นสุดการทดหลังภายหลังการเก็บเกี่ยว โดยทำการเก็บข้อมูลด้านการเจริญเติบโต ผลผลิต และองค์ประกอบผลผลิตของข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 โดยวิเคราะห์ทางสถิติใช้วิธี ANOVA และวัดความแตกต่างค่าเฉลี่ยโดยวิธีการ DMRT
บทคัดย่อ (EN): The research aims to Study on the effect of organic compost on cassava residue on yield and yield of Oryza sativa L. by using a complete randomize design (CRD) study in pots. 4 treatments of 5 replicates, 5 pots each, including the original soil (control), original soil + chemical fertilizer, old soil + organic compost from tapioca and Old Soil + Organic Fertilizer + Organic Compost From Cassava Residue And carry out soil sampling. Two chemical analyzes were carried out before and after harvesting. The data on growth, yield and yield components of KDML 105 were analyzed by statistical analysis using the ANOVA method and DMRT
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการย่อยที่2 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักจากกากมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตข้าวแบบอินทรีย์ ในกลุ่มเกษตรกร รายย่อยของอําเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
30 กันยายน 2560
อาหารจากมันสำปะหลัง การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรผู้ร่วมโครงการผลิตข้าวอินทรีย์ ปี 2548 จังหวัดอุทัยธานี การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตเกษตรกรที่ผลิตข้าวอินทรีย์กับเกษตรกรที่ผลิตข้าวเคมีในจังหวัดสุรินทร์ แนวทางการลดต้นทุนการผลิตมันสำปะหลังและพัฒนาเครือข่ายของเกษตรกรผู้ผลิตมันสำปะหลังจังหวัดนครราชสีมา การผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรในอำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี การผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรในอำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี สภาพการผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรในจังหวัดหนองคาย การผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรในอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก