สืบค้นงานวิจัย
การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา (D x P) และการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตปาล์มน้ำมันที่เหมาะสมแก่เกษตรกร
สกล ฉายศรี, ประภาส ช่างเหล็ก, นิภา เขื่อนควบ, สุดประสงค์ สุวรรณเลิศ, ระวิวรรณ โชติพันธ์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา (D x P) และการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตปาล์มน้ำมันที่เหมาะสมแก่เกษตรกร
ชื่อเรื่อง (EN): The research on breeding of Tenera (DXP) oil palm and appropriate technology transfer of oil palm production to the farmer.
บทคัดย่อ: การวิจัยและผลิตพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา (D x P) ที่ให้ผลผลิตสูงในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย ในปีที่ 5 มีการเก็บข้อมูลการเจริญเติบโต และองค์ประกอบผลผลิตในแปลงปลูกทดสอบลูกผสมจำนวน 5 คู่ผสม ในพื้นที่สถานีวิจัยสิทธิพรกฤดากร สามารถแยกสายพันธุ์ลูกผสมที่มีความโดดเด่นในการให้ผลผลิต 2 ลักษณะคือ พันธุ์ปาล์มน้ำมันที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลซึ่งมีเนื้อเมล็ดในและน้ำมันมากกว่าพันธุ์ลูกผสมทั่วไป 2-3 เท่า คัดเลือกได้ 2 นัมเบอร์ และพันธุ์เพื่อผลิตน้ำมันบริโภคอีก 3 นัมเบอร์ ส่วนการทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอร่า (D x P) ที่มีจำหน่ายในประเทศไทย 6 สายพันธุ์ อายุ 60 เดือน ในด้านการเจริญเติบโต พบว่า ความสูงทรงพุ่ม พันธุ์ไนจีเรียและพันธ์อูติมีแนวโน้มให้ความสูงทรงพุ่มเฉลี่ยสูงสุด ส่วนความสูงลำต้นพบว่า พันธุ์ปาปัวนิกินี มีความสูงลำต้นสูงสุดและพันธุ์อีโคน่ามีความสูงลำต้นต่ำสุด ส่วนความกว้างของทรงพุ่มพบว่า พันธุ์อีโคน่า, อูติและพันธุ์เปารงค์ มีความกว้างทรงพุ่มมากสุด และมีค่าใกล้เคียงกับพันธุ์ยูนิวานิชและไนจีเรีย ขณะที่พันธุ์ปาปัวนิวกินีมีค่าต่ำสุด จำนวนทางใบของปาล์มน้ำมันพบว่าพันธุ์ อูติและ ยูนิวานิช มีจำนวนทางใบมากที่สุด ส่วนพันธุ์ปาปัวนิวกินีและอีโคน่า มี จำนวนทางใบน้อยที่สุด ส่วนด้านองค์ประกอบผลผลิตปาล์มน้ำมันพันธุ์อูติ ปีให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด1,320 กก./ไร่/ รองลงมาคือ พันธุ์ไนจีเรีย 1,249 กก./ไร่/ปี ส่วนพันธุ์เปารงค์ให้ผลผลิตต่ำสุด 563.4 กก./ไร่/ปี การวิจัยและผลิตพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา (D x P) ที่ให้ผลผลิตสูงในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย ในปีที่ 5 มีการเก็บข้อมูลการเจริญเติบโต และองค์ประกอบผลผลิตในแปลงปลูกทดสอบลูกผสมจำนวน 5 คู่ผสม ในพื้นที่สถานีวิจัยสิทธิพรกฤดากร สามารถแยกสายพันธุ์ลูกผสมที่มีความโดดเด่นในการให้ผลผลิต 2 ลักษณะคือ พันธุ์ปาล์มน้ำมันที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลซึ่งมีเนื้อเมล็ดในและน้ำมันมากกว่าพันธุ์ลูกผสมทั่วไป 2-3 เท่า คัดเลือกได้ 2 นัมเบอร์ และพันธุ์เพื่อผลิตน้ำมันบริโภคอีก 3 นัมเบอร์ ส่วนการทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอร่า (D x P) ที่มีจำหน่ายในประเทศไทย 6 สายพันธุ์ อายุ 60 เดือน ในด้านการเจริญเติบโต พบว่า ความสูงทรงพุ่ม พันธุ์ไนจีเรียและพันธ์อูติมีแนวโน้มให้ความสูงทรงพุ่มเฉลี่ยสูงสุด ส่วนความสูงลำต้นพบว่า พันธุ์ปาปัวนิกินี มีความสูงลำต้นสูงสุดและพันธุ์อีโคน่ามีความสูงลำต้นต่ำสุด ส่วนความกว้างของทรงพุ่มพบว่า พันธุ์อีโคน่า, อูติและพันธุ์เปารงค์ มีความกว้างทรงพุ่มมากสุด และมีค่าใกล้เคียงกับพันธุ์ยูนิวานิชและไนจีเรีย ขณะที่พันธุ์ปาปัวนิวกินีมีค่าต่ำสุด จำนวนทางใบของปาล์มน้ำมันพบว่าพันธุ์ อูติและ ยูนิวานิช มีจำนวนทางใบมากที่สุด ส่วนพันธุ์ปาปัวนิวกินีและอีโคน่า มี จำนวนทางใบน้อยที่สุด ส่วนด้านองค์ประกอบผลผลิตปาล์มน้ำมันพันธุ์อูติ ปีให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด1,320 กก./ไร่/ รองลงมาคือ พันธุ์ไนจีเรีย 1,249 กก./ไร่/ปี ส่วนพันธุ์เปารงค์ให้ผลผลิตต่ำสุด 563.4 กก./ไร่/ปี
บทคัดย่อ (EN): This project is about the production of Tenera D x P and the resulting high yields for the Thai environment. This takes place at the Sitthiporn Kriddakorn Research Station, Prachuap Khiri Khan Province in the fifth year. The project recorded the growth and the yield component of Tenera D x P seeds, 5 pairs, which had been cultivated and tasted. This research can divide the hybrid (Tenera D x P), outstanding in giving yield into 2 dominant characteristics. The first dominant characteristic is oil palm being the material in producing Bio-desel which can produce palm kernel and crude oil palm 2-3 times more than the general palm oil. The researchers select 2 numbers from 5 pairs. The second dominant characteristic is oil palm which is used for consumption. The researchers select 3 numbers from 5 pairs. According to the experiment in the yield potential of 60-month-Tenera D x P which had six varieties and was available for sale in Thailand, the study found that the growth of Nigeria and Uti tended to provide the highest growth. The high of trunk of Papua New Guinea is the highest and Econa is the lowest. The width of canopies Econa, Uti and paoronk gave the largest width , and the width of them close to Univanish and Nigeria. Papua New Guinea gave the lowest width. While the number of leaves of Uti and Univanish gave the largest numbers of leaves Papua New Guinea and Econa gave the lowest numbers of leaves. Regarding yields and yield component Uti gave the highest yield 1,320 kg/rai/year, Nigeria gave closely yield 1,249 kg/rai/year and paoronk gave the lowest yield 563.4 kg/rai/year. This project is about the production of Tenera D x P and the resulting high yields for the Thai environment. This takes place at the Sitthiporn Kriddakorn Research Station, Prachuap Khiri Khan Province in the fifth year. The project recorded the growth and the yield component of Tenera D x P seeds, 5 pairs, which had been cultivated and tasted. This research can divide the hybrid (Tenera D x P), outstanding in giving yield into 2 dominant characteristics. The first dominant characteristic is oil palm being the material in producing Bio-desel which can produce palm kernel and crude oil palm 2-3 times more than the general palm oil. The researchers select 2 numbers from 5 pairs. The second dominant characteristic is oil palm which is used for consumption. The researchers select 3 numbers from 5 pairs. According to the experiment in the yield potential of 60-month-Tenera D x P which had six varieties and was available for sale in Thailand, the study found that the growth of Nigeria and Uti tended to provide the highest growth. The high of trunk of Papua New Guinea is the highest and Econa is the lowest. The width of canopies Econa, Uti and paoronk gave the largest width , and the width of them close to Univanish and Nigeria. Papua New Guinea gave the lowest width. While the number of leaves of Uti and Univanish gave the largest numbers of leaves Papua New Guinea and Econa gave the lowest numbers of leaves. Regarding yields and yield component Uti gave the highest yield 1,320 kg/rai/year, Nigeria gave closely yield 1,249 kg/rai/year and paoronk gave the lowest yield 563.4 kg/rai/year.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา (D x P) และการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตปาล์มน้ำมันที่เหมาะสมแก่เกษตรกร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2554
การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา (D x P)และการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตปาล์มน้ำมันที่เหมาะสมแก่เกษตรกร การประเมินศักยภาพความทนแล้งของปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอราสายต้น สวก.1 ถึง สวก.16 การชักนำและเพิ่มปริมาณเอ็มบริโอโดยการเพาะเลี้ยงเซลล์แขวนลอยของปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา และการตรวจสอบความแปรปรวนโดยใช้เครื่องหมายอาร์เอพีดี การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันให้มีผลผลิตน้ำมันสูง (ระยะที่ 2) การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันให้มีผลผลิตน้ำมันสูง (ระยะที่ 3) การใช้เทคโนโลยีในสวนปาล์มน้ำมันที่ให้ผลผลิตแล้วของเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดพังงา การศึกษาแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มของประเทศไทย โครงการวิจัยและพัฒนาการปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมัน โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปาล์มน้ำมัน การทดลองหาปริมาณน้ำใช้ที่เหมาะสมของปาล์มน้ำมันพันธุ์เทเนอร่า ปีที่ 3
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก