สืบค้นงานวิจัย
การสำรวจและเก็บรวบรวมทรัพยากรพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ของไทยเพื่อนำเข้าธนาคารเชื้อพันธุกรรมแห่งชาติ และการศึกษาสารไฟโตสเตอรอลเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพต้นแบบ
ภาวัช วิจารัตน์ - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: การสำรวจและเก็บรวบรวมทรัพยากรพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ของไทยเพื่อนำเข้าธนาคารเชื้อพันธุกรรมแห่งชาติ และการศึกษาสารไฟโตสเตอรอลเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพต้นแบบ
ชื่อเรื่อง (EN): Surveying and collecting native rice genetic resources of various ethnic groups Of Thailand to import the National Genetic Bank And the study of phytoestrogens for the development of prototype health supplements
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภาวัช วิจารัตน์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: สำรวจและเก็บรวบรวมเชื้อพันธุกรรมข้าวจำนวน 40 พันธุ์จากกลุ่มชาติพันธุ์ของไทยจำนวน 5 กลุ่มชาติพันธุ์ประกอบด้วยชาติพันธุ์เผ่าม้งอาข่ามูเซอลีซอและไทยใหญ่จากพื้นที่ภาคเหนือของไทยศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ดข้าวเปลือก ได้แก่ ความกว้างของเมล็ดความยาวของเมล็ดน้ำหนัก 100 เมล็ดสีเปลือกและขนบนเปลือกของข้าวเปลือกพบความผันแปรในทุกลักษณะยกเว้นขนบนเปลือกเมล็ดและสีเมล็ดข้าวกล้องโดยความกว้างของเมล็ดข้าวเปลือกและความกว้างมีการแจกแจงแบบปกติการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทาง genotype ทำโดยการตรวจสอบด้วย Single Nucleotide Polymorphism (SNP) markers และการหาลำดับเบสทั้งจีโนมที่ marker ครอบคลุมผลการวิเคราะห์โภชนเภสัชสาร phytosterol ด้วยวิธี Gas Chromatography-Mass Spectroscopy (GC-MS) ในพันธุ์ข้าวจากกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆพบว่าพันธุ์ข้าวฮอนยาของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่าในตำบลเทิดไทยอำเภอแม่ฟ้าหลวงจังหวัดเชียงรายมีปริมาณสาร phytosterol สูงสุดที่ 858-1034 mg / แป้งข้าว 100 g
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561-03-22
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562-03-20
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การสำรวจและเก็บรวบรวมทรัพยากรพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ของไทยเพื่อนำเข้าธนาคารเชื้อพันธุกรรมแห่งชาติ และการศึกษาสารไฟโตสเตอรอลเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพต้นแบบ
มหาวิทยาลัยนเรศวร
20 มีนาคม 2562
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลำไย พันธุกรรมของไม้พะยูง Dalbergia cochinchinensis Pierre พันธุกรรมกับอาหารโคนม ความหลากหลายทางพันธุกรรมและจำแนกกลุ่มพันธุกรรมไก่พื้นเมืองในจังหวัดน่านด้วยไมโครแซทเทิลไลท์ สมบัติทางชีวภาพ การแยก การระบุเอกลักษณ์ของเม็ดแป้ง และการประยุกต์ใช้ส่วนต่างๆ ของเม็ดข้าวสาลีพันธุ์แม่โจ้เป็นผลิตภัณฑ์อาหาร ผลของอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลงความหนืด ของข้าวพันธุ์ต่างๆ โครงการนำร่องทดสอบสรออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสมุนไพรไทยที่สามารถพัฒนาไปเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพ ภายใต้โครงการเวชนคร (Medicopolis) โครงการพัฒนาสารสกัดจากผลิจภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อเป็นอาหารเสริมและเครื่องสำอาง กิจกรรม : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ลดเซลลูไลท์จากลูกประคบไทย ลักษณะความแตกต่างและความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่างชนิดโดยเครื่องหมายพันธุกรรมอัลโลไซม์ในปูทะเลและปูม้าของไทย สมดุลธาตุอาหารในระบบการปลูกปลูกหมุนเวียนข้าว - ถั่ว บนพื้นที่สูงใน ภาคเหนือของประเทศไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก