สืบค้นงานวิจัย
ผลของสารสกัดสมุนไพรไทยต่อการยับยั้งเจริญเติบโตของเชื้อ Aromonas hydrophila
ทัศนีย์ นลวชัย - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของสารสกัดสมุนไพรไทยต่อการยับยั้งเจริญเติบโตของเชื้อ Aromonas hydrophila
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of Thai Herbs Extracted on Growth Inhibition of Aeromonas hydrophila
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ทัศนีย์ นลวชัย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Thasanee Nonwachai
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จิตรา ดวงแก้ว
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Chittra Duangkaew
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของสารสกัดสมุนไพรไทยต่อการการยับยั้งเจริญเติบโตของเชื้อ Aromonas hydrophila จากสาร สกัดสมุนไพรไทย 7 ชนิด ได้แก่ ขมิ้นซัชัน (Curouma longa) ขิง (Zingiber offcinale) กระเทียม (Alium sativum) มะกรูด (Citrus hystrix) ฟ้าทะลายโจร (Andropraphis paniculata) กะเพรา (Ocimum sancium) และทองพันชั่ง (Rhinacanthus nasutus) โดยใช้ตัวทำละลาย 2 ชนิด ได้แก่ เอทานอล และเมทานอล ทำการศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพร ด้วยวิธี Agar well diffusion และ Borth dilution พบว่า สมุนไพรไทยที่มีผลให้ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางส่วนใสเฉลี่ยมากที่สุด คือ ขมิ้นชัน ที่ใช้เอทานอลเป็นตัวทำละลาย โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางส่วนใสเท่ากับ 2.930.60 เซนติเมตร ค่าความเข้มข้นต่ำสุด ที่สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย (MIC)ในการศึกษาครั้งนี้จะไม่สามารถอ่านผลได้เนื่องจากสมุนไพรมีสีที่เข้มมาก ทำให้มอง ไม่เห็นความขุ่นจากการเจริญเติบโตของเชื้อ A. hydrophila ภายในหลอดทดลอง จึงทำการศึกษาค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ สามารถฆ่าเชื้อแบคที่เรีย (MBC)เพียงอย่างเดียว ผลการจากศึกษาพบว่า ขมิ้นชัน (Curcuma longa) ที่ใช้เอทานอลเป็น ตัวทำละลายมีค่า MBC สูงที่สุดเท่ากับ 7.81ส่วนในพันส่วน (ppt)
บทคัดย่อ (EN): The study of Thai herbs extracted on growth inhibition of Aeromonas hydrophila from 7 types of herb consist of Curcuma (Curcuma longa), Ginger (Zingiber officinale), Garlic (Allium sativum), Kaffir lime (Citrus hystrix), Kariyat (Andropraphis paniculata), Hot basil (Ocimum sancium) and White crane flower (Rhinacanthus nasutus) extracted with 2 different solvent ethanol and methanol. Agar well diffusion and Borth dilution method were used in this study. Herb that had the highest diameter of clear zone was Curcuma extracted with ethanol. It had diameter of clear zone equal to 2.93±0.60 centimeter. In this study minimum inhibitory concentration (MIC) could not observed the turbidity from growth of A. hydrophila in test tubes because the color of herbs were very dark. The result found Curcuma (Curcuma longa) extracted with ethanol had the highest minimum bactericidal concentration (MBC) equal to 7.81 part per thousand (ppt)
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=O021 Fis16.pdf&id=2235&keeptrack=10
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของสารสกัดสมุนไพรไทยต่อการยับยั้งเจริญเติบโตของเชื้อ Aromonas hydrophila
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2559
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ฤทธิ์ป้องกันดีเอ็นเอเสียหายของสารสกัดจากใบและลำต้นของสมุนไพรกรดน้ำที่สกัดด้วยตัวทำละลายชนิดต่างๆ สารออกฤทธิ์ชีวภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพรป่าชายเลนที่มีต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) ผลของสารสกัดสมุนไพรต่อการติดเชื้อ Nosemaspp.ในรังผึ้ง สารสกัดอย่างหยาบของพืชสมุนไพรบางชนิดที่มีฤทธิ์ต้านการเจริญของเชื้อรา ผลของสารสกัดบริสุทธิ์จากสมุนไพรต่อการยับยั้นการเจริญของเชื้อ Pythium insidiosum (คปก. ต่อยอด) การใช้สมุนไพรทดแทนยาปฏิชีวนะและสารเร่งการเจริญเติบโต เพื่อการผลิตเนื้อไก่ปลอดยาสารพิษตกค้าง ผลของสารสกัดสมุนไพร กวาวเครือขาว ขมิ้นชัน และกล้วยน้ำว้า ต่อการเจริญเติบโต ภูมิคุ้มกันและความสามารถในการต้านทานเชื้อแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila ในกบนา (Hoplobatrachus rugulosus) ผลของการใช้สมุนไพรต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตของไก่เบตงและไก่ประดู่หางดำ การศึกษาฤทธิ์การยับยั้งเซลล์มะเร็งปอด A549 ของสารสกัดเอทานอลของเถาตดหมา เพื่อเพิ่มมูลค่าทางยาของพืชสมุนไพรไทย การศึกษาสารสำคัญ Shikimic acid ในพืชสมุนไพรไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก