สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาคุณภาพ และวิธีการเก็บรักษาต้นพันธุ์ที่มีต่อความงอกการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันสําปะหลัง
สุปราณี งามประสิทธิ์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาคุณภาพ และวิธีการเก็บรักษาต้นพันธุ์ที่มีต่อความงอกการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันสําปะหลัง
ชื่อเรื่อง (EN): Study on Cutting storage Duration and Methods on Germination Growth and yield of Cassava
บทคัดย่อ: การศึกษา ผลของสารแช่ต?นพันธุ ?ต?อความงอก, การเจริญเติบโต และผลผลิตของมันสําปะหลัง ได้ ดำเนินการทดลองที่สถานีวิจัยพืชไร่สุวรรณวาจกกสิกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา วางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB มี 4 ซ้ำ main plot ได้แก่พันธุ์มันสำปะหลัง 3 พันธุ์ คือ พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50, ห้วยบง 60 และห้วยบง 80 sub plot คือสารที่ใช้แช่ท่อนพันธุ์มัน ได้แก่ น้ำมันสบู่ดำ, สารสกัดจากกากน้ำตาล ( แอลกอฮอล์ 40 %), แบคทีเรีย KPS 46, คลอไพริฟอสเมทิล และไม่คลุกสาร พบว่า สารที่แช่ต้นพันธุ์มันสำปะหลังมีผลต่อความงอก และแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยที่พันธุ์ห้วยบง 80 มีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงที่สุดเท่ากับ 82 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได้แก่พันธุ์ห้วยบง 60 และ เกษตรศาสตร์ 50 มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 77 เปอร์เซ็นต์ และ 75 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ ส่วนผลของสารที่แช่ท่อนพันธุ์นั้น การที่ไม่แช่ท่อนพันธุ์นั้นจะทำให้ความงอกสูงที่สุด เท่ากับ 82 เปอร์เซ็นต์ และการใช้น้ำมันสบู่ดำให้ความงอกต่ำที่สุดเท่ากับ 69 เปอร์เซ็นต์ ส่วนเปอร์เซ็นต์การเกิดแมลงที่ต้นมันสำปะหลังพบว่าในระยะ 2 เดือนหลังปลูก ต้นที่ไม่ได้แช่ต้นพันธุ์มีแมลงอาศัยมากกว่าต้นที่แช่สารเฉลี่ย 11.27 เปอร์เซ็นต์ และผลผลิตของมันสำปะหลังนั้น พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 .ให้ผลผลิตที่อายุ 12 เดือนสูงที่สุดเฉลี่ย 13 หัวต่อต้น น้ำหนักหัวสด 12.3 กิโลกรัมต่อต้น และมีจำนวน 131,000 หัวต่อเฮกตาร์ น้ำหนักหัวสด 101,295 กิโลกรัมต่อเฮกตาร์
บทคัดย่อ (EN): The effect of substance stem treatment on germination, growth and yield of cassava was studied at National Corn and Sorghum Research Center, Pakchong Nakorn-ratchasima, during January 2010 to July 2011. The experiment was laid out as the Split plot in RCB with 4 replications, main plot was variety composed of 3 cassava cultivars, Kasetsart 50 (KU.50), Huay Bong 60 (HB 60) and Huay Bong 80 (HB 80), sub plot was 5 treated substances composed of S1= physic nut oil, S2= by-product of mallas (ethyl-alcohol 40%), S3= bacteria suspension KPS 46, S4= chlopiriphos-methyl, S5= non treated. The objective of research was compared to the effect substance stem treatment on germination, growth, and yield of 3 cassava cultivars. The results revealed that substance stem treatment had affected germination as significantly difference. HB 80 had maximum germination at 80.70 percent and the next were HB 60 and KU 50 at 76.70 and 74.65 percent respectively. Between stem treated substances found that non-treated (S5) had maximum germination at 82.25 percent; physic nut oil (S1) had minimum germination at 68.92%. For insect appearance of cassava stem at 2 months after planted found that non-treated (S5) had 11.27 % infected which higher than the various substance stem treatments. For yield found that KU 50 had maximum fresh root yield at 12 months after planted and got average yield components of 13.1 number of fresh root per plant; weight 12.26 kg per plant and got 131,000 number of fresh root per hectare (20,960 no. fresh root rai-1), weight 101,295 kg per hectare (19.62 t rai-1).
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาคุณภาพ และวิธีการเก็บรักษาต้นพันธุ์ที่มีต่อความงอกการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันสําปะหลัง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2554
การศึกษาการเจริญเติบโต ผลผลิต และอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์พื้นเมืองของจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดใกล้เคียง ผลของการเก็บรักษาไรแดงต่อการเจริญเติบโตของปลา ความสามารถในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมที่สัมพันธ์ กับคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ การเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดหวาน การพัฒนากระบวนการผลิตต้นพันธุ์และการเก็บรักษาพันธุ์กล้วยหินในสภาพปลอดเชื้อ การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพเมล็ดหญ้ากัมบ้า (3) ผลของวิธีการเก็บรักษาที่มีต่อ คุณภาพเมล็ด การเพิ่มผลผลิตข้าวคุณภาพพิเศษโดยวิธีการจัดการธาตุอาหารเพื่อการเพาะปลูกและปรับปรุงพันธุ์ รวมทั้งการชะลอการสูญเสียสารคุณภาพพิเศษระหว่างการเก็บรักษา ผลของกระบวนการผลิตและการเก็บรักษาต่อคุณภาพปลาอินทรีเค็ม คุณภาพและความสามารถในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเทียน การเพิ่มผลผลิตข้าวคุณภาพพิเศษโดยวิธีการจัดการธาตุอาหารเพื่อการเพาะปลูกและปรับปรุงพันธุ์ รวมทั้งการชะลอการสูญเสียสารคุณภาพพิเศษระหว่างการเก็บรักษา (ปีที่ 2) ผลของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์จากผักตบชวาต่อการเจริญเติบโตของต้นมะเกี๋ยงที่ปลูกในในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยพะเยาจังหวัดพะเยาและผลของแคลเซียมคลอไรด์ร่วมกับการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำต
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก