สืบค้นงานวิจัย
โครงการวิจัยเพื่อศึกษาสาเหตุ ปัจจัย กลไกในการเกิดและการควบคุมปฏิกิริยาสีน้ำตาลในผักกาดหอมเพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิต
เบ็ญจวรรณ ชุติชูเดช - มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ชื่อเรื่อง: โครงการวิจัยเพื่อศึกษาสาเหตุ ปัจจัย กลไกในการเกิดและการควบคุมปฏิกิริยาสีน้ำตาลในผักกาดหอมเพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิต
ชื่อเรื่อง (EN): Research Project for Studies Causes, Factors, Mechanism and Control Browning Reaction in Lettuce (Lactuca sativa L.) for Increasing Production Value
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เบ็ญจวรรณ ชุติชูเดช
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ความเสียหายจากการเกิดสีน้ำตาลบนใบผักกาดหอมมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย ซึ่งสาเหตุ หนึ่งเนื่องมาจากแสงแดด การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการพรางแสง 5 ระดับ ได้แก่ 50 60 70 80% เปรียบเทียบกับสภาพกลางแจ้ง (Control) กับต้นผักกาดหอมพันธุ์ Grand Rapids วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design ทำ 4 ซ้ำ ๆ ละ 15 ต้น ทำการทดลองระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม 2552 ณ แปลงทดลองเกษตรและห้องปฏิบัติการ ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลการทดลองพบว่าต้นผักกาดหอมที่ได้รับการพรางแสง 50% มีผลดีช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นในด้านจำนวนใบ ความสูงต้น ขนาดทรงพุ่ม น้ำหนักสด ระดับคลอโรฟิลล์ และปริมาณวิตามินซี นอกจากนี้การพรางแสงที่ 50% ยังช่วยลดความเสียหายที่เกิดจากสีน้ำตาลที่ปรากฏบนใบและควบคุมกิจกรรมการทำงานของเอนไซม์ PPO ได้
บทคัดย่อ (EN): The damage of leaf browning in lettuce caused from several factors. A cause of this damage related to sunlight oil nutrition. The objective of this experiment was to study the effect of decreasing the sunlight five levels : 50, 60, 70, 80% compared with outdoor condition (Control) to lettuce var. ‘Grand Rapids’. Completely Randomized Design was arranged and composed of four replications. Each replication consisted of 15 plants. The experiment was carried out during May to August, 2009 at the experimental field and laboratory, Division of Agricultural Technology, Faculty of Technology, Mahasarakham University. The results showed that plants received 50% sunlight had several positive effects to promote crop growth in terms of leaf number, plant height, bush of plant, fresh weight, level of chlorophyll and vitamin C content. In addition, treatment of reducing 50% sunlight also decreased the browning damage on lettuce leaves and controlled the PPO activities
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการวิจัยเพื่อศึกษาสาเหตุ ปัจจัย กลไกในการเกิดและการควบคุมปฏิกิริยาสีน้ำตาลในผักกาดหอมเพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
30 กันยายน 2553
โครงการการปรับปรุงพันธุ์และการผลิตเมล็ดพันธ์ผัก การวิจัยการผลิตไพลแบบบูรณาการ การใช้ไคตินและปุ๋ยคอกมูลวัวในการเพิ่มผลผลิตของผักกาดหอมสายพันธุ์บัตเตอร์เฮดที่ปลูกแบบกระถาง คุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมพันธุ์กรีนโอ๊คลีฟที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ การวิจัยเพื่อผลิตผักด้วยการใช้ปุ๋ยมูลสุกรและไก่ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เนื้อหมูแปรรูปสมุนไพรเพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างเสริมโอกาสทางเศรษฐกิจ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการของสถานสัตว์ทดลองเพื่อการวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ผลของการฉีดพ่นไอโอไดด์และไอโอเดตต่อผลผลิตและการสะสมไอโอดีนในผักกาดหอม โครงการนำร่องทดสอบสรออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสมุนไพรไทยที่สามารถพัฒนาไปเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพ ภายใต้โครงการเวชนคร (Medicopolis) ระบบโรงเรือนอัจฉริยะเพื่อการผลิตผักสลัดอินทรีย์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก