สืบค้นงานวิจัย
การใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทยเพื่อยืดอายุการเก็บของชิ้นส่วนตัดแต่งเนื้อสัตว์
สุเวทย์ นิงสานนท์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชื่อเรื่อง: การใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทยเพื่อยืดอายุการเก็บของชิ้นส่วนตัดแต่งเนื้อสัตว์
ชื่อเรื่อง (EN): Uses of Thai herb extracts for extending shelf life of meat cuts
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุเวทย์ นิงสานนท์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: กนกอร อินทราพิเชฐ
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อตัดเลือกและศึกษาศักยภาพการใช้สมุนไพร ไทยเป็นสารถนอม อาหารธรรมชาติบนผิวหน้ำของชื้นส่วนตัดแต่งเนื้อสดเพื่อยืดอายุการเก็บเปรียบเทียบกับ ประสิทธิภาพของสารแบคเทอริ โอซินไม่บริสุทธิ์จาก Lactoc coccus lactis TISTR 1401 สารไนซินทาง การค้ำ และการใช้ร่วมกับกระขวนการถนอมอาหาร โดยใช้ความดันสูง (high hydrostatic pressure, HHP) ทำการวิเดราะห์ผลทดลองโดยวิเคราะห์ปริมาณจุสินทรีย์บนผิวหน้าและคุณภาพทางเดมื กายภาพของขึ้นเนื้อตัดแต่ง ตัวอย่างเนื้อ ต่งเนื้อหมูสันนอกจากโรงงานฆ่าสัตว์ทาง การค้ สกัดสมุนไพรไทย 15 ชนิดด้วยแอลกอฮอล์และทคสอบกิจกรรมการต้านแบคทีเรียที่ใช้เป็น เชื้อบ่งชี้ 8 ชนิด และเชื้อแบดทีเรียเด่น 4 ชนิดที่พบจากเนื้อหมูสันนอกสดบรรจุแบบมีอากาศเละแบบ สูญญากาศ และเก็บในตู้ย็นที่เน่าเสียแล้ว พบว่าสารสกัดสมุนไพรที่มีกิจกรรมต้านจุลินทรีย์ได้สูง 3 ชนิด ได้แก่สารสกัดจากใบมะกอกป่า (Spondias pirnata (L.t) Kurz (E1) สารสกัดจากเปลือกมังคุด (Garcinia mangostana Linn. (E2) และสารสกัดจากใบมะตูมแขก (Schints terebinthifottius (E3) ใช้ สารละลายเข้มข้น 10% ของสารสกัดที่ตัดเลือกได้ทั้ง 3 ชนิค ชุ่มและเคลือบเพื่อลตการปนเปื้อนของ เชื้อจุลินทรีย์บนผิวหน้ของชื้นตัดแต่งเนื้อหมูสันนอก เปรียบเทียบกับการใช้ 0.2% สารแบดทีริโอซิน ไม่บริสุทธิ์ (B) จาก Lactococ ccus lactis TISTR 1401 และ 0.2% สารละลายในซิน (N) บรรจุเนื้อ ตัวอย่างในสภาวะมีอากาศและสุญญากาศ เก็บตัวอย่างทั้งหมดที่ 4C นาน 8 วัน สุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจ วิเตราะห์ทางจุสินทรีย์ ทางเศมีกายกาพ และทางประสาทสัมผัสทุก 2 วัน ตัวอย่างบรรจุแบบมีอากาศ ไม่พบความแตกต่าง (P > 0.05) ของจำนวนนับจุลินทรีย์ทั้งหมด (lotal plate counts, TPCs) แต่สาร สกัด E2 มีแนวโน้มของกิจกรรมการตั้นจุสินทรีย์ได้ดีกว่าสารสกัด E1, :3 และ สารละลาย B ขณะที่ สารไนซินมีกิจกรรมการต้านจุลินทรีย์ต่ำที่สุด (P 0.05) ของจำนวน TPC ของตัวอย่างทั้งหมด ยกเว้น ตัวอย่าง HHP+E1 ที่มีจำนวน PC สูงกว่า (P <0.05) ตัวอย่างทคลองชุดอื่น ๆ ในวันที่ 6 ของการ ทคลองเก็บ ที่ความตันสูง 300 MP: พบความแตกต่างของจำวน IPCs ตลอดการทดลองเก็บ ขณะที่ ตัวอย่าง HIHP+E3 มีจำนวนนับต่ำที่สุด (P <0.05) ในสภาวะการบรรอุแบบสูญญากาศ และผ่านดวาม ดันสูงที่ 200 MP4 จำนวนนับ IPC: ของตัวอย่างที่เคลือบด้วยสารสกัดจากสมุนไพรทั้ง 2 ชนิด ไม่ แตกต่างกัน (P < 0.05) อย่างไรก็ตามพบว่า ตัวอย่าง HHP +B มีจำนวนนับ TPC ต่ำกว่าตัวอย่างชุดอื่น ๆ ในวันที่ 3 ที่ความดันสูง 300 MP ทุกชุดตัวอย่างทดลองมีจำนวน PCs ต่ำกว่า 10 cfvom และ พบความแตกต่าง (3 < 0.05) ของสีและความเหนียวของ เนื้อหมูตัวอย่างที่ผ่านความดันสูงทั้งหมด เมื่อ เปรียบเทียบกับตัวอย่างดวบคุม ทั้งนี้เนื่องจากผลของความดันสูงที่ใช้
บทคัดย่อ (EN): The objectives of this study were to investigate the potential use of selected indigenous Thai herbs as natural antimicrobial preservatives on the surface of fresh meat cuts in comparing with crude bacteriocins from Lactococcus lactis TISTR 1401 and commercial nisin, and the use in combination with high hydrostatic pressure (HHP) treatment. Microbial contents on meat cut surface and physicochemical properties of the treated meats were as well investigated. Freshly cut pork chops from commercial slaughter house were used for the investigation. Fifieen indigenous Thai herbs alcoholic extracts were examined for their antimicrobial activity against eight indicator bacteria and four dominant bacterial floras found from spoiled fresh pork chops aerobically and vacuum packed, kept at refrigerated temperatures. The highly active antibacterial inhibition was found for Spondias pinnata (L.f.) Kurz (E1), Garcinia mangostana Linn. (E2) and Schinus terebinthifolius (E3) extracts. The 10% (w/v) solution of each of these 3 selected herb extracts was used to decontaminate pork chop surface by dipping and coating, compared with 0.2% crude bacteriocins (B) obtained from Lactococcus lactis TISTR 1401 and 0.2% nisin (N), under aerobically and vacuum packed and stored at 4*C for 8 days with randomly sampling for microbial and physicochemical quality analyses every 2 days. The total plate counts (TPCs) of aerobically packed samples treated with all selected herb extracts were not significantly different (p > 0.05). However, E2 extract exhibited more intense antimicrobial activity than E1, E3 and B while nisin provided lower inhibition activity (p 0.05) from day 2 toward the end of storage time while TCCs were.significantly different throughout storage time. Significant differences were found in purge loss, cooking yield, hardness, L*, a, b# color, metmyoglobin contents, total acidity, moisture and overall acceptance except pH values. Treatments of 1% E1 and E3 and 0.2% B solutions coated pork chops, and then, aerobically and vacuum packed prior to treat with high hydrostatic pressure (HHP) at 200 and 300 MPa were performed. The treated pork samples were stored at 4 C for 9 days and microbial quality and physicochemical properties were analyzed every 3 days. For aerobic pack and at 200 MPa pressure treatment, no significant differences (p > 0.05) of TPCs were found except for the HHP+E1 treated ones found to contain higher counts (p 0.05). However, it was found that the HHP+B showed lower TPC counts (p < 0.05) than did other treatments on day 3. At 300 MPa pressure, all treatments gave TPCs below 10 cfu cm2. Significant differences (p < 0.05) of color and hardness of treated pork samples compared with the control were observed due to the effect of HHP.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทยเพื่อยืดอายุการเก็บของชิ้นส่วนตัดแต่งเนื้อสัตว์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
30 กันยายน 2554
การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากสมุนไพรไทยบางชนิดในการกำจัดหอยเชอร์รี่ การตรวจสอบฤทธิ์กลายพันธุ์และต้านการกลายพันธุ์ของสารสกัดยาแผนโบราณไทย เวชสำอางสมุนไพร มิติใหม่ของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทย การพัฒนายาสมุนไพรเพื่อสุขภาพจากตำรับยาสมุนไพรของชาวไทยใหญ่และ ชาวเขาชนเผ่าต่างๆ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสารจากสมุนไพร (metabolites) ที่ตรวจพบในเลือดของอาสาสมัครสุขภาพดีหลังกินยาจากสมุนไพรอายุรเวทศิริราชตำรับห้าราก (AVS022) กับลักษณะการจับกลุ่มของเกล็ดเลือดเป็นรายบุคคล- โครงการ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสารจากสมุนไพร (metabolites) ที่ตรวจพบในเลือดของอาสาสมัครสุขภาพดีหลังกินยาจากสมุนไพรอายุรเวทศิริราชตำรับห้าราก (AVS022) กับลักษณะการจับกลุ่มของเกล็ดเลือดเป็นรายบุคคล: โครงการ ผลของสารสกัดจากใบติ้วขาวต่อการยับยั้งการตายของเซลล์ประสาทเมื่อถูกกระตุ้นด้วยเบต้าอะไมลอยด์เปปไทด์ (โมเดลของโรคอัลไซเมอร์) การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี แนวโน้มตลาดอาหารเสริมสุขภาพจากพืช สมุนไพรช่วยเสริมภูมิคุ้มกัน: หูเสือ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก