สืบค้นงานวิจัย
สภาพการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชุมพร
คณิต เจียวก๊ก - กรมปศุสัตว์
ชื่อเรื่อง: สภาพการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชุมพร
ชื่อเรื่อง (EN): Raising Dairy Farm in Chumphon Province Area
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: คณิต เจียวก๊ก
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Kanit Jiewkok
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สมศักดิ์ นวลสม
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Somsak Nualsom
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาสภาพการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในพื้นที่จังหวัดชุมพร ที่เป็นสมาชิกและขายน้ำนมดิบให้สหกรณ์โคนมชุมพร จำกัด และศูนย์รวมนมชุมโ ด ใ นระหว่างเดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2550 จำนวน 45 ราย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรในจังหวัดชุมพร แล้วนำผลการศึกษาไปกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาก ารเลี้ยงโคนมใ นจังหวัดชุมพร ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมใ นจังหวัดชุมพร ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 80.0 อายุเฉลี่ย 45.9 ปี จบการศึกษาสูงสุดระดับประถมศึกษา ร้อยละ 68.6 มีประสบการณ์ในการเลี้ยงโคนมเฉลี่ย 11.7 ปี แรงงานที่ใช้ในฟาร์มโคนม เฉลี่ย 2.2 คน เลี้ยงโคนมแบบปล่อยอิสระในคอก.ลาน ร้อยละ 97.8 โดยมีจำนวนโคนมทั้งหมดเฉลี่ยต่อฟาร์ม 28.5 ตัว แบ่งเป็น แม่โครีคนม, แม่โคแห้งนม, โคสาวท้อง, โคสาว และลูกโคเฉลี่ย เท่ากับ 10.5, 3.1, 1.9, 5. และ 8.0 ตัว ตามลำดับ ผลผลิตน้ำนมดิบเฉลี่ย 9.5 กิโลกรัมต่อตัวต่อวัน ราคาน้ำนมดิบเฉลี่ย 10.75 บาทต่อกิโลกรัม ร้อยละ 73.3 ขนส่งน้ำนมดิบไปยังศูนย์รวมนม ด้วยตนเอง ระยะทางจากฟาร์มถึงศูนย์รวมนมเฉถี่ย 11.๑ กิโลเมตร ร้อยละ88.9 มีแปลงพืชอาหารสัตว์ของตนเอง เฉลี่ย 9.5 ไร่
บทคัดย่อ (EN): Raising dairy farm in Chumphon Area proceed by interviewed 45 farmers them were the member of Chumphon dairy cooperative and Chumco milk collecting center among January 2007 – February 2007 also research from many documents and the research work. The objective is for study of raising dairy of farmer in Chumphon and take the research work to be in use for setting the trend of development to raising dairy in Chumphon to be an efficiency and effectiveness. The result of researching was dairy of farmer in Chumphon, most of them were man in the fraction of 80%, average aged 45.9 years old, graduated in primary education 42.2 %, average experience of dairy farming was 11.7 years. The average dairy labor was 2.2 person, 97.8% of free stall barns. There were an average of 28.5 dairy cows/farm and 10.5, 3.1, 1.9, 5.0, 8.0 respectively for milking cows, dry cows, pregnant heifers, heifers, and calves. The average milk yield was 10.75 kilogram/head/day, an average price of milk was 10.75 bath/kilogram. The average distance from dairy farm to milk collecting center 11.9 kilometer, 73.3% Transportation milk self. Farmers of 88.9% had their own pasture, average 9.5 rai/farm.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: สำนักงานปศุสัตว์เขต 8
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมปศุสัตว์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาพการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชุมพร
กรมปศุสัตว์
2551
เอกสารแนบ 1
กรมปศุสัตว์
สภาพการเลี้ยงโคนมและการให้อาหารโคนมของเกษตรกร การสำรวจสภาพการเลี้ยงโคนมตามโครงการฟื้นฟูเกษตรกรหลังพายุเกย์ของจังหวัดชุมพร สภาพการใช้ฟางปรุงแต่งเลี้ยงโคนมของเกษตรกร จ.เชียงราย การจัดการพืชอาหารสัตว์ของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในพื้นที่ภาคกลาง รายงานเบื้องต้นสภาพการจัดการด้านอาหารโคเนื้อและโคนมของเกษตรกรในพื้นที่ 11 จังหวัดภาคกลาง การใช้เทคโนโลยีในการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรในสหกรณ์โคนมบ้านบึง จำกัด จังหวัดชลบุรี การศึกษาต้นทุนการผลิตนำนมดิบของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงโคนมโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม เทคนิคการเลี้ยงโคนมทดแทน การประยุกต์ใช้แนวทางตามพระราชดำริเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการแก้ไขปัญหาน้ำนมดิบล้นตลาดในช่วงฤดูร้อนของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม และสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนม ในภาคเหนือตอนบน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก