สืบค้นงานวิจัย
อิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาที่จุ่มกรดเกลือต่างกันต่อการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Sokushin ของไข่ไหมลูกผสมระหว่างพันธุ์ไทยกับต่างประเทศ
ภุชงค์ เพชรมนต์ - กรมหม่อนไหม
ชื่อเรื่อง: อิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาที่จุ่มกรดเกลือต่างกันต่อการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Sokushin ของไข่ไหมลูกผสมระหว่างพันธุ์ไทยกับต่างประเทศ
ชื่อเรื่อง (EN): Temperature and Acid Treatment Effect on Hatchability of Sokushin Eggs of Silkworm Hybrid Between Polyvoltine and Bivoltine
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภุชงค์ เพชรมนต์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Sokushin
บทคัดย่อ: การศึกษาการฟักเทียมชนิด Sokushin ของไข่ไหมลูกผสมพันธุ์ไทย พันธุ์ K8xร.อ.3ตุ่น หลังจากแม่ผีเสื้อวางไข่แล้ว 15 ชั่วโมง นำไข่ไหมไปฟักเทียมโดยกรดเกลือ (Hydrochloric acid) ถ.พ.1.110 ที่ 15 ° ซ. อุณหภูมิกรด 24, 27, 29, 30 และ 35 ° ซ. เวลาที่ใช้จุ่มไข่ไหม...
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2524
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2525
เอกสารแนบ: https://qsds.go.th/newosrd/wp-content/uploads/sites/115/2021/08/2525_15.pdf
เผยแพร่โดย: กรมหม่อนไหม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
อิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาที่จุ่มกรดเกลือต่างกันต่อการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Sokushin ของไข่ไหมลูกผสมระหว่างพันธุ์ไทยกับต่างประเทศ
กรมหม่อนไหม
2525
เอกสารแนบ 1
กรมหม่อนไหม
การเปรียบเทียบการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Reshin โดยการใช้วิธีการเก็บรักษาที่ต่างกัน การศึกษาลักษณะของไหมลูกผสมชั่วที่ 2 ซึ่งฟัก 2 ครั้งต่อปี การศึกษาคุณลักษณะของไหมลูกผสมสามสายพันธุ์ ของไหมพวกที่ฟักออกจากไข่สองครั้งต่อปีตามธรรมชาติ การทดสอบทำไข่ไหมแบบบรรจุกล่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างช่วงเวลาการเก็บไข่ไหม 5 °C และเวลาในการจุ่มกรดของไข่ไหมชนิด Reishin การเปรียบเทียบการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Reishin โดยนำมาฟักเทียมด้วยกรดเกลือซึ่งความเข้มข้นและเวลาที่จุ่มกรดเกลือต่างกัน อิทธิพลของความเข้มข้นและเวลาที่จุ่มกรดเกลือ ต่างกันต่อการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Reishin ของไข่ไหมลูกผสมระหว่างพันธุ์ไทยกับต่างประเทศ การศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการจุ่มกรดเกลือที่มีอิทธิพลต่อการฟักของไข่ไหมแบบ SOKUSHIN การเปรียบเทียบการเลี้ยงไหมซึ่งได้จากการกกไข่ไหมแบบอุณหภูมิคงที่ตลอด และใช้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นในขณะกกไข่ไหม ผลของการขนส่งไข่ไหมในเวลาต่างกันต่อการเลี้ยงและผลผลิตรังไหม
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก