สืบค้นงานวิจัย
ผลการเก็บไข่ไหมในห้องเย็นก่อนฟักเทียมแบบฟักทันที
พีระพงศ์ เชาวน์เสฏฐกุล - กรมหม่อนไหม
ชื่อเรื่อง: ผลการเก็บไข่ไหมในห้องเย็นก่อนฟักเทียมแบบฟักทันที
ชื่อเรื่อง (EN): "Effect of Cold Storage of Silkworm Eggs Before Common Acid Treatment"
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พีระพงศ์ เชาวน์เสฏฐกุล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การเก็บไข่ไหมในห้องเย็น 5 องศาเซลเซียส ก่อนทำการฟักเทียมแบบฟักทันทีในระยะเวลาที่ไข่ไหมในห้องเย็นนานแตกต่างกันนั้น โดยทำการฟักเทียมด้วยสารละลายกรดเกลือความเข้มข้น 1.1100 ที่ 15 องศาเซลเซียส ใช้อุณหภูมิในการฟักเทียมไข่ไหม 35 องศาเซลเซียส..
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2527
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2528
เอกสารแนบ: https://qsds.go.th/newosrd/wp-content/uploads/sites/115/2021/08/2528-35.pdf
เผยแพร่โดย: กรมหม่อนไหม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลการเก็บไข่ไหมในห้องเย็นก่อนฟักเทียมแบบฟักทันที
กรมหม่อนไหม
2528
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมหม่อนไหม
การทดลองหาเปอร์เซ็นต์การฟักออกของไข่ไหมที่เก็บไว้ในห้องเย็นในช่วงระยะเวลาต่างกัน การทดลองหาเปอร์เซนต์การฟักออกของไข่ไหมที่เก็บไว้ในห้องเย็นในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน การทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างช่วงเวลาที่เก็บไข่ไหมในห้องเย็นกับเปอร์เซ็นต์การฟักออกของไข่ไหม การทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างช่วงเวลาที่เก็บไข่ไหมในห้องเย็นกับเปอร์เซ็นต์การฟักออกของไข่ไหมโดยไม่ต้องฟักเทียม การศึกษาหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บรักษาไข่ไหมในช่วงเวลาต่างๆ กัน หลังจากฟักเทียมไข่ไหมแบบฟักทันที การทดลองฟักเทียมไข่ไหมหลังจากที่เก็บ 5 ° ซ ในช่วงระยะสั้น การเปรียบเทียบการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Reshin โดยการใช้วิธีการเก็บรักษาที่ต่างกัน การศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนในไข่ไหมชนิดฟักทันทีและหลังจากเก็บในห้องเย็นระยะเวลาหนึ่งสำหรับพันธุ์ K1 และ K8 การทดลองฟักเทียมไข่ไหมหลังจากเก็บที่ 5 °ซ ในช่วงระยะเวลาสั้น ความสัมพันธ์ของช่วงเวลาการเก็บไข่ไหมที่ 25 °C และ 5 °C ของไข่ไหมชนิด Hibernate
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก