สืบค้นงานวิจัย
การวิจัยการใช้สารเคมีที่เหมาะสมในการผลิตยาง
พรรษา อดุลยธรรม - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: การวิจัยการใช้สารเคมีที่เหมาะสมในการผลิตยาง
ชื่อเรื่อง (EN): The Use of Chemicals for Safe Rubber Products
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พรรษา อดุลยธรรม
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การที่ผลิตภัณฑ์ยางเป็นสินค้าที่มีกฎเกณฑ์ด้านความปลอดภัยของผู้บริโภคทั้งการกำหนด ขีดจำกัดของปริมาณสารอันตรายในผลิตภัณฑ์ยาง เช่น สารคลอโรฟีนอล สารที่ก่อให้เกิดไนโตรซามีน ปริมาณโปรตีนที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ และความปลอดภัยเมื่อใช้สัมผัสอาหาร ดังนั้นในการผลิตยาง ธรรมชาติต้องมีการระมัดระวังตั้งแต่ในสวนยาง กระบวนการแปรรูป และการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ จาก การศึกษาพบว่าโอกาสในการปนเปื้อนสารอันตรายในน้ำยางสดจากในสวนจะเกิดขึ้นจากการใช้ สารเคมีรักษาโรคที่เกิดกับหน้ากรีด ซึ่งการระบาดของโรคบนหน้ากรีดพบน้อย การใช้สารถนอมน้ำยาง ที่ปลอดภัย แนะนำให้ใช้ แอมโมเนีย 0.4% ร่วมกับ สารถนอมร่วม SS6 และ ZnO ที่ระดับ 0.025% + 0.025% การเติมซิลิกาเพื่อการลดปริมาณโปรตีนในน้ำยางสด ทำให้ประสิทธิภาพสารถนอมลดลง หาก เติมในน้ำยางข้นทำให้ความคงตัวน้ำยางต่ำกว่าขีดจำกัดมาตรฐาน ในการผลิตผลิตภัณฑ์ยางที่มีไนโตร ซามีนต่ำต้องเลือกใช้สารเคมีผสมยางที่ไม่อยู่ในกลุ่มที่สลายตัวเป็นทุติยภูมิอามีน และเกิดเป็นไนโตรซา มีน ผลิตภัณฑ์ยางสัมผัสอาหารจัดเป็นวัสดุสัมผัสอาหารซึ่งต้องผลิตจากส่วนประกอบที่อนุญาตให้ใช้ สัมผัสกับอาหารได้
บทคัดย่อ (EN): No information found from agency.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2550
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิจัยการใช้สารเคมีที่เหมาะสมในการผลิตยาง
การยางแห่งประเทศไทย
2550
การเพิ่มผลผลิตยางพาราและการใช้สารเคมีเร่งน้ำยาง การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี วิธีการใช้สารเคมีในการรักษาโรครากขาวของยางพารา ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีการผลิตยางพารา ต่อรายได้ของเกษตรกรชาวสวนยาง ปีการผลิต 2549 : กรณีศึกษาจังหวัดระยอง การใช้ตัวเจือจางสารเคมีเร่งน้ำยางที่เหมาะสมในท้องถิ่น การพัฒนากระบวนการปรับปรุงคุณภาพไม้ยางพาราโดยไม่ใช้สารเคมีด้วยวิธีความร้อนที่เหมาะสมสำหรับประยุกต์ใช้กับเตาอบที่มีในโรงงานอุตสาหกรรมไม้ยางพารา ปีที่ 1 การปฏิบัติตามหลักการเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับการผลิตยางพารา ของเกษตรกรในจังหวัดสกลนคร การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตยางพาราที่เหมาะสมในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ทดสอบเทคโนโลยีการผลิตยางพาราที่เหมาะสม ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก