สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาเศษวัสดุเหลือใช้จากสวนปาล์มน้ำมันในการผลิตพลาสติกและพลังงานทดแทนทางชีวภาพ
อ.ดร.สมพงศ์ โอทอง - มหาวิทยาลัยทักษิณ
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาเศษวัสดุเหลือใช้จากสวนปาล์มน้ำมันในการผลิตพลาสติกและพลังงานทดแทนทางชีวภาพ
ชื่อเรื่อง (EN): Development of plantation waste for the production of bioplastic and biofuels
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อ.ดร.สมพงศ์ โอทอง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ศึกษาการผลิตเอทานอลจากกากของแข็งลำต้นปาล์มที่เหลือจากการคั้นน้ำโดยการเตรียมลำต้นปาล์มด้วยร้อยละ 2 ของกรดซัลฟิวริก โซเดียมไฮดรอกไซด์ และโซเดียมไฮดรอกไซด์ร่วมกับไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ร่วมกับคลื่นไมโครเวฟ และการระเบิดไอน้ำต่อปริมาณและคุณภาพของเซลลูโลส การศึกษาพบว่า การเตรียมลำต้นที่อัตราส่วนของแข็งร้อยละ 5-15 ให้ประสิทธิภาพการเก็บเกี่ยวของแข็งและคุณภาพของเซลลูโลสไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญในแต่ละสารเคมีที่ใช้
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-09-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-08-31
เอกสารแนบ: http://www.thai-explore.net/search_detail/result/3354
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2556
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยทักษิณ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาเศษวัสดุเหลือใช้จากสวนปาล์มน้ำมันในการผลิตพลาสติกและพลังงานทดแทนทางชีวภาพ
มหาวิทยาลัยทักษิณ
31 สิงหาคม 2557
เอกสารแนบ 1
การพัฒนาเศษวัสดุเหลือใช้จากสวนปาล์มน้ำมันในการผลิตพลาสติกและพลังงานทดแทนทางชีวภาพ ปีที่2 การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การพัฒนาเศษวัสดุเหลือใช้จากสวนปาล์มน้ำมันในการผลิตพลาสติกและพลังงานทดแทนทางชีวภาพ การพัฒนาเศษวัสดุเหลือใช้จากสวนปาล์มน้ำมันในการผลิตพลาสติกและพลังงานทดแทนทางชีวภาพ ปีที่2 การศึกษาเพื่อผลิตสาหร่ายเป็นพลังงานทดแทน การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา (D x P) และการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตปาล์มน้ำมันที่เหมาะสมแก่เกษตรกร โครงการการศึกษาการผลิต nutrient base จากวัสดุเหลือใช้จากผลปาล์มน้ำมัน (รายงาน) ความหลากหลายทางชีวภาพของแบคทีเรียบริเวณสวนปาล์มน้ำมัน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ของมะขาม คุณค่าทางโภชนาการและความเป็นพิษระดับเซลล์ของเส้นใยปาล์มซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้จาการสกัดปาล์มน้ำมัน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก