สืบค้นงานวิจัย
สมรรถนะโคพื้นเมืองเพศผู้ตอนภายใต้การเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มหมุนเวียนในแปลงหญ้ากินนีสีม่วงและแปลงหญ้ากินนีสีม่วงร่วมกับถั่วท่าพระสไตโล ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม
วิโรจน์ ฤทธิ์ฤาชัย - กรมปศุสัตว์
ชื่อเรื่อง: สมรรถนะโคพื้นเมืองเพศผู้ตอนภายใต้การเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มหมุนเวียนในแปลงหญ้ากินนีสีม่วงและแปลงหญ้ากินนีสีม่วงร่วมกับถั่วท่าพระสไตโล ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม
ชื่อเรื่อง (EN): Performance of Thai native steers under rotational grazing on guinea grass andguinea grass with tapra stylo legume pastures in Mahasarakham province of Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วิโรจน์ ฤทธิ์ฤาชัย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Viroj Ritruechai
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะการเจริญเติบโต เปอร์เซ็นต์ซาก และต้นทุนการผลิตของ โดพื้นเมืองเพศผู้ตอนสายพันธุ์ภาคอีสานภายใต้การเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มหมุนเวียนในแปลงพืชอาหารสัตว์ 2 ระบบ ใช้โคพื้นเมืองสายพันธุ์ภาคอีสานเพศผู้ตอนอายุ 18 เดือน จํานวน 12 ตัว สุ่มเข้าแทะเล็มหมุนเวียน ในแปลงพืชอาหารสัตว์ 2 กลุ่มๆ ละ 5 ตัว น้ําหนักเริ่มเฉลี่ย 171.B3 และ 171.33 กิโลกรัม ตามลําดับ กลุ่มที่ 1 ให้แทะเล็มหมุนเวียนในแปลงหญ้ากินนี่สีม่วง (Panicum maximum TD 5B) เสริมหญ้ากินนี่สีม่วงแห้งในฤดูแล้ง กลุ่มที่ 2 ให้แทะเล็มแปลงหญ้ากินนี่สีม่วงและแปลงตัวท่าพระสไตโล (StWasanthes guiarnensis CIAT 184) ที่ปลูกแยกแปลงเสริมหญ้าและตัวแห้งในฤดูแล้ง ใช้อัตราแทะเล็มเฉลี่ย 1.5 ไร่ต่อตัว ทั้งสองกลุ่ม พบว่า ในระยะเวลาทตลอง 2 ปี (560 วัน) แปลงหญ้าและตัวยาหารสัตว์สามารถใช้แทะเล็มได้นานกว่าแปลงปลูกหญ้า อย่างเดียวเฉลี่ย 180 และ 160 วันต่อปี ตามลําดับ ผลผลิตพืชอาหารสัตว์ของแปลงหญ้าและตัวอาหารสัตว์สูงกว่า การปลูกหญ้าอย่างเดียวเฉลี่ย 1,722.22 และ 1,671.56 กิโลกรัมวัตถุแห้งต่อไร่ต่อปี ตามลําดับ สิ้นสุดการทดลอง โดมีน้ําหนักสุดท้าย น้ําหนักเพิ่ม อัตราการเจริญเติบโต เปอร์เซ็นต์เนื้อแตง ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ (p>0.05) เฉลี่ย 338. 17:40.54 และ 343.67.34.02 กิโลกรัม;166.33+13.66 และ 172.67621.45 กิโลกรัม 252.17+20.85 และ 261.0032.52 กรัมต่อวัน : 32.64 และ 34.51 เปอร์เซ็นต์ ในโตกลุ่มที่ 1 และ 2 ตามลําดับ ขณะที่ผลตอบแทนต่อพื้นที่แปลงพืชอาหารสัตว์จากการเลี้ยงโศกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มสูงกว่ากลุ่มที่ 1 เฉลี่ย 2.179.21 และ 1,974.96 บาทต่อไร่ต่อปี ตามลําดับ ผลการทดลองนี้ชี้ให้เห็นว่า แปลงหญ้ากินนี่สีม่วงและ แปลงหญ้ากินนี่สีม่วงปลูกร่วมกับตัวท่าพระสไตโลที่ปลูกแบบแยกแปลงสามารถใช้เลี้ยงโคพื้นเมืองในอัตรา แทะเล็ม 1.5 ไร่ต่อตัว (0.50 หน่วยปศุสัตว์ต่อไร่) อย่างไรก็ตาม แปลงพืชอาหารสัตว์ทั้ง 2 ระบบสามารถใช้เลี้ยงโค โดยการปล่อยแทะเล็มในช่วงฤดูฝนประมาณ 150-180 วัน เท่านั้น ขณะที่ในฤดูแล้งไม่สามารถแทะเล็มได้ ดังนั้น การเตรียมพืชอาหารสัตว์ให้เพียงพอเลี้ยงสัตว์ตลอดทั้งปีนั้น ควรใช้ทั้งการแทะเล็มและการผลิตเสบียงสัตว์ ควบคู่กันโดยปล่อยสัตว์แทะเล็มในช่วงฤดูฝนควบคู่กับการผลิตเสบียงสัตว์สํารองแล้วนํามาเลี้ยงสัตว์ในฤดูแล้ง
บทคัดย่อ (EN): The objective of this research was to study growth performance, carcass percentages, and production cost of Thai native steers under rotational grazing of 2 pasture production systems. Twelve Thai native steers with average age of 18 months were allotted to a comparative rotational grazing trial of 6 animals per group with initial weight of 171.83 and 171.33 kg for group 1 and 2, respectively. Group 1 steers were allowed grazing on guinea grass pasture (Panicum maximum TD58) with guinea grass hay supplemented. Group 2 steers were allowed grazing on guinea grass and taphra stylo (Stylosanthes quianensis CIAT 184) pastures, with grass-legume hay supplemented. The stocking rates of both systems were 1.5 rai/head. Results of the 2 years (660 days) grazing trial indicated that cattle can stay in grass-legume pastures longer than mono-crop grass pastures of 180 and 160 days/year, respectively. Similarly, total dry matter yields of the grass-legume pastures were relatively higher than the grass pastures with averages 1,722 22 and 1,671.56 kg/rai/year, respectively. Average final weight, weight gain, average daily gain (ADG) and % red meat of cattle Group 1 and 2 were non-significant different (p>0.05) of 338.17 40.54 and 343.67 34.02 kg: 166.33 13.66 and 172.21 21.45 kg: 252.17 20.85 and 261.00 32.52 gram/day, and 32.64 and 34.51 %, respectively. Income per unit area of Group 2 was slightly higher than Group 1 with the average of 2,179.21 and 1,974.96 baht/rail year, respectively. Results of this study indicated that guinea grass pastures as well as guinea with tapra stylo pastures can sustain Thai native steers with the carrying capacity of 1.5 raidhead (0.5 animal unit/rai). However, the pasture can be use for grazing for the period of 160-180 days/year during wet season and inappropriate in dry season. Therefore, in order to provide sufficient fodder on year round production, the integration of wet season grazing and fodder preservation for dry season feeding were recommended
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: สำนักพัฒนาอาหารสัตว์
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สำนักพัฒนาอาหารสัตว์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สมรรถนะโคพื้นเมืองเพศผู้ตอนภายใต้การเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มหมุนเวียนในแปลงหญ้ากินนีสีม่วงและแปลงหญ้ากินนีสีม่วงร่วมกับถั่วท่าพระสไตโล ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม
สำนักพัฒนาอาหารสัตว์
2556
เอกสารแนบ 1
กรมปศุสัตว์
ถั่วท่าพระสไตโล สมรรถนะการผลิตและลักษณะซากของโคพื้นเมืองไทยที่เลี้ยงด้วยอาหารหยาบที่มีคุณภาพแตกต่างกัน การศึกษาคุณค่าทางโภชนะของพืชอาหารสัตว์ : หญ้ากินนีสีม่วงและถั่วท่าพระสไตโล คุณค่าทางโภชนะของหญ้ากินนีสีม่วง ค่าการเลี้ยงกระบือภายใต้ระบบแทะเล็มหมุนเวียนในแปลงหญ้ากินนีสีม่วง สมรรถภาพโคพื้นเมืองเพศผู้ภายใต้การเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มในแปลงหญ้าซีตาเรียและแปลงถั่วท่าพระสไตโลในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการทดสอบผลผลิตหญ้าและถั่ว สถานีพืชอาหารสัตว์ลำปาง การใช้หญ้าและถั่วร่วมกับอาหารข้นระดับต่ำในการขุนกระต่ายส่งตลาด การผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วท่าพระสไตโล สมรรถภาพโคพื้นเมืองเพศผู้ภายใต้การเลี้ยงแบบปล่อยแทะเล็มในแปลงหญ้ากินนีสีม่วงและเสริมด้วยถั่วไมยราในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก