สืบค้นงานวิจัย
การวิเคราะห์องค์ประกอบและคุณสมบัติทางเคมีของสารสกัดจากเมล็ดเจียที่ปลูกในประเทศไทย
อนรรฆอร ศรีไสยเพชร - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์องค์ประกอบและคุณสมบัติทางเคมีของสารสกัดจากเมล็ดเจียที่ปลูกในประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): The analyzation on chemical composition and chemical properties of substances extracted from chia (Salvia hispanica L.) seed grown in Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อนรรฆอร ศรีไสยเพชร
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: เจีย (Salvia hispanica L.) เป็นเมล็ดพันธุ์พืชพื้นเมืองที่มีถิ่นกาเนิดจากทางตอนเหนือของประเทศเม็กซิโกไปจนถึงประเทศกัวเตมาลา ปัจจุบันเจียสามารถเจริญเติบโตได้ในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ดังนั้นการศึกษาถึงการนาเมล็ดเจียมาใช้เพื่อเพิ่มคุณค่าทางอาหารและอื่นๆจึงมีความสาคัญ งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดเจีย การวิเคราะห์คุณภาพและองค์ประกอบของกรดไขมันในน้ามันเมล็ดเจีย ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดเจียแสดงให้เห็นถึงการเป็นแหล่งที่สาคัญของเส้นใยอาหาร โดยเมล็ดเจียประกอบด้วยน้ามันในปริมาณที่สูงถึง 27.27-32.84% และอุดมไปด้วยโอเมก้า 3 ในปริมาณ 56.43-62.04% และโอเมก้า 6 ในปริมาณ 17.46-20.55% จากผลการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดเจียชี้ให้เห็นว่าเมล็ดเจียสามารถใช้เป็นทางเลือกหนึ่งสาหรับเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมล็ดเจียจากประเทศไทยจัดเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหาร โดยสามารถนามาใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อาหารที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพได้
บทคัดย่อ (EN): Chia (Salvia hispanica L.) is a native seed of the North of Mexico to Guatemala region. Nowadays it has been grow in Thailand in the northern area therefore it is target of study for food enrichment and others. This research focused on study of chemical composition of chia seed, the chia seed oil quality inspection and fatty acid profiles. The result of chemical composition of Chia seeds showed that it is important sources of dietary fiber. Chia seeds contains high levels of oil in the range of 27.27-32.84% and there are constituted in 56.43-62.04% of Omega-3 and 17.46-20.55%, of Omega-6. The results of chia seed component suggested that chia seeds should be considered as functional ingredients adding nutritional value. Especially Thai chia seed has exhibited in a rich source of food nutrition. It contributes to value addition in health food product.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะวิทยาศาสตร์
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-61-078
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิเคราะห์องค์ประกอบและคุณสมบัติทางเคมีของสารสกัดจากเมล็ดเจียที่ปลูกในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2561
การสกัดและระบุเอกลักษณ์ขององค์ประกอบทางเคมีของน้ำยางของต้นพญาสัตบรรณ การคัดเลือกองค์ประกอบทางเคมีสำคัญและตรวจสอบความเป็นพิษในสารสกัดหยาบและน้ำมันหอมระเหยจากงาขี้ม้อน เพื่อการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสำอาง ผลของความแก่อ่อนและระยะเวลาการเก็บเกี่ยวต่อองค์ประกอบทางเคมีและคุณภาพของถั่วดาวอินคาที่ปลูกในจังหวัดเชียงรายและพิษณุโลก อิทธิพลของวิธีการสกัดไขมันกระบกในอาหารต่อปริมาณน้ำนม องค์ประกอบทางเคมีและกรดไขมันในน้ำนมของโคนม ผลของอายุการเก็บเกี่ยวต่อผลผลิต และองค์ประกอบทางเคมีของกระเฉดบก (Neptunia javanica Miq.) ศักยภาพในการผลิตไก่ฟ้าของประเทศไทย การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดว่านเพชรกลับและกลไกการออกฤทธิ์ต้านแอนโดรเจนในเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากเพาะเลี้ยงและตัวรับแอนโดรเจน ระดับโปรตีนและพลังงานในอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและองค์ประกอบทางเคมีของปลาสวายโมง มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารของประเทศไทย รวบรวม ศึกษาและคัดเลือกพันธุ์กระชายดำ: องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยจากเหง้ากระชายดำ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก