สืบค้นงานวิจัย
ผลการอบรมอาหารข้าวสาลีประยุกต์ ณ อ.ฝาง และอ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
อรุณี อภิชาติสรางกูร - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: ผลการอบรมอาหารข้าวสาลีประยุกต์ ณ อ.ฝาง และอ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง (EN): THE TRAINING PROGRAMS FOR UTILIZATION OF WHEAT BASED MEALS AT FANG AND MAETANG DISTRICTS, CHIANGMAI
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อรุณี อภิชาติสรางกูร
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Arunee Apichartsrangkoon
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและใช้ประโยชน์จากข้าวสาลีคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ฝึกอบรมการใช้ประโยชน์จากข้าวสาลีให้แก่ประชากรทั้งผู้ปลูกและไม่ปลูกข้าวสาลี ณ อำเภอฝางและอำเภอแม่แตงจังหวัดเชียงใหม่การฝึกอบรมได้แบ่งเป็นสองช่วงคือช่วงแรกปี 2529-30 และช่วงหลังปี 2531-32 สำหรับที่อำเภอแม่แตงโครงการฯ ได้เข้าไปส่งเสริมในช่วงหลังอาหารที่เผยแพร่ในช่วงแรกมีทั้งทำจากแป้งสาลีและทำจากเมล็ดติดร่า เช่น บะหมี่ ซาลาเปา ขนมนิ้วนาง น้ำพริกเผา เป็นต้น การส่งเสริมในช่วงหลังส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์จากแป้งสาลีติดราการสำรวจผลการอบรม โดยวิธีสุ่มตัวอย่างขนาด 40 ในช่วงแรกและตัวอย่างขนาด 60 ในช่วงหลังพบว่าการอบรมผลต่อการเพิ่มเนื้อที่ปลูกข้าวสาลีของประชากรทั้งกลุ่มที่เคยและกลุ่มที่ไม่เคยปลูกน้อยมากเนื่องจากผู้ไม่เคยปลูกส่วนใหญ่ไม่สามารถปลูกได้เพราะไม่มีพื้นที่ปลูกและยังขาดงบประมาณส่วนผู้ที่เคยปลูกส่วนใหญ่ต้องการปลูกต่อเนื่อง เพราะสามารถจำหน่ายได้ แต่ไม่ค่อยนิยมเก็บไว้บริโภคในครัวเรือนเนื่องจากอาหารข้าวสาลีประยุกต์ชนิดที่ชอบ เช่น บะหมี่ ทำลำบากต้องใช้อุปกรณ์ราคาแพงส่วนอาหารชนิดที่ชอบอื่น ๆ เช่นซาลาเปาและน้ำพริกเผามีกรรมวิธีที่ยุ่งยากโดยทั่วไปเหตุผลที่ชอบอาหารเหล่านี้เพราะอร่อย
บทคัดย่อ (EN): Wheat technology transfer for local Utilization's Project Chiang Mai University organized the training programs for wheat and non wheat growers to utilise local wheat based meals at Fang and Maetang districts. The programs were divided into two periods which were in the years 1986/87 and 1988/89. But Meatang involved only in the last section. The wheat based meals used for promotion in the first period were wheat flour and whole grain meals such as egg noodles, Chinese dumpling, lady finger and chilli paste. For the last period, the promoted items were concentrated on wheat flour meals. To evaluate the training programs fourty random house-holds were used in the first period and sixty random households in the last period. The consequences of training had not much influence on increasing plantations of wheat for former and new wheat growers, the reasons of which some new wheat growers were unable to cultivate because of lacking of lands and budgets. Most of the former growers were willing to cultivate consecutively because they could sale their produces rather than kept for own consumption, the reason of which their favourable wheat based meals e.g. egg noodle required costly utensil and other introduced products e.g. chinese dumpling as well as chilli paste had multistage recipes. In general all participants accepted these foods due to their existed palatability.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2532
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2533
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/247723/169520
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลการอบรมอาหารข้าวสาลีประยุกต์ ณ อ.ฝาง และอ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2533
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
สมบัติทางชีวภาพ การแยก การระบุเอกลักษณ์ของเม็ดแป้ง และการประยุกต์ใช้ส่วนต่างๆ ของเม็ดข้าวสาลีพันธุ์แม่โจ้เป็นผลิตภัณฑ์อาหาร แนวทางสนับสนุนเศรษฐกิจข้าวและความมั่นคงทางอาหารภายใต้บริบทสังคมจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดพิจิตร พันธุกรรมกับอาหารโคนม วิธีการปลูกข้าวสาลีโดยไม่ไถเตรียมดิน โครงการนาโนคลัสเตอร์แม่เหล็กที่เคลือบด้วยพอลิเมอร์และตรึงด้วยแอปตาเมอร์เพื่อการประยุกต์ใช้เพื่อความปลอดภัยทางด้านน้ำและอาหาร อาหารสำคัญเช่นใดกับมนุษยชาติ ผลของอาหารไก่เนื้อและอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ของไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ ชั่วรุ่นที่ 5) ภูมิภาคอาเซียนกับความมั่นคงทางอาหาร สมดุลธาตุอาหารในระบบการปลูกปลูกหมุนเวียนข้าว - ถั่ว บนพื้นที่สูงใน ภาคเหนือของประเทศไทย การปรับปรุงพันธุ์ข้าวสาลีในภาคเหนือตอนบน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก