สืบค้นงานวิจัย
ผลของการใช้น้ำชลประทานเพิ่มเติมต่อการเจริญเติบโตผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในช่วงฤดูแล้ง (ปีที่ 3)
นายณัฐพัชร์ วงษ์ศุภลักษณ์ - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: ผลของการใช้น้ำชลประทานเพิ่มเติมต่อการเจริญเติบโตผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในช่วงฤดูแล้ง (ปีที่ 3)
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of supplementary irrigation on growth, yield and quality of oil palm during dry season. (3rd year)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นายณัฐพัชร์ วงษ์ศุภลักษณ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): MR.NATTHAPAT WONGSUPALUK
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่: อื่นๆ
หมวดหมู่ AGRIS: P ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (Natural resources)
บทคัดย่อ: จากการศึกษาผลของการให้น้ำชลประทานเพิ่มเติมต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในช่วงฤดูแล้ง ทำการศึกษาที่แปลงทดลองสถานีทดลองการใช้น้ำชลประทานที่ 8 (นครศรีธรรมราช) ซึ่งได้ดำเนินการตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559 ถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2559 รวม 91 วัน วางแผนการทดลองแบบ RCBD (Randomized Complete Block Design) และได้รับปริมาณน้ำที่แตกต่างกัน 6 วิธีการ คือ วิธีการที่ 1 ไม่มีการให้น้ำ (ได้รับจากน้ำฝนเท่านั้น) ได้รับน้ำตลอดการทดลอง 199.00 มิลลิเมตร หรือ 219.95 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เฉลี่ย 2.19 มิลลิเมตรต่อวัน วิธีการที่ 2 ให้น้ำโดยใช้ค่า ET/E = 1.5 ได้รับน้ำตลอดการทดลอง 799.38 มิลลิเมตร หรือ 883.54 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เฉลี่ย 8.78 มิลลิเมตรต่อวัน วิธีการที่ 3 ให้น้ำโดยใช้ค่า ET/E = 1.7 ได้รับน้ำตลอดการทดลอง 905.97 มิลลิเมตร หรือ 1,001.35 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เฉลี่ย 9.96 มิลลิเมตรต่อวัน วิธีการที่ 4 ให้น้ำโดยใช้ค่า ET/E = 1.9 ได้รับน้ำตลอดการทดลอง 1,012.55 มิลลิเมตร หรือ 1,119.15 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เฉลี่ย 11.13 มิลลิเมตรต่อวัน วิธีการที่ 5 ให้น้ำโดยใช้ค่า ET/E = 2.1 ได้รับน้ำตลอดการทดลอง 1,119.13 มิลลิเมตร หรือ 1,236.95 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เฉลี่ย 12.30 มิลลิเมตรต่อวัน และวิธีการที่ 6 ให้น้ำโดยใช้ค่า ET/E = 2.3 ได้รับน้ำตลอดการทดลอง 1,225.72 มิลลิเมตร หรือ 1,354.76 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ เฉลี่ย 13.47 มิลลิเมตรต่อวัน นั้น พบว่าด้านการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมัน ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่ด้านผลผลิตมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มีผลผลิต ดังนี้ วิธีการที่ 1 4,110.98 กิโลกรัมต่อไร่ วิธีการที่ 2 5,696.35 กิโลกรัมต่อไร่ วิธีการที่ 3 6,001.88 กิโลกรัมต่อไร่ วิธีการที่ 4 6,102.91 กิโลกรัมต่อไร่ วิธีการที่ 5 6,221.82 กิโลกรัมต่อไร่ และวิธีการที่ 6 5,723.19 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งวิธีการที่ 2 ให้ผลผลิต โดยให้ผลผลิต 5,696.35 กิโลกรัมต่อไร่ มีประสิทธิภาพการใช้น้ำสูงสุด เท่ากับ 6.45 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
บทคัดย่อ (EN): Effect of supplementary irrigation on growth, yield and quality of oil palm during dry season and 6 years old of oil palms was studied. Thestudy was conducted from February 18th to May 20th 2016 which is 91 days in total at Irrigation Water Management Experiment Station 8 (Nakornsrithammarat). The experimental design is RCBD (Randomized Complete Block Design) which comprised 6 treatments (T) as follow, T1 was no irrigation (only rains) and received water in amount 199 mm. or219.95 m3/rai, or 2.19 mm/day in average. T2 was irrigated by value of ET/E = 1.5 and received water in amount 799.38 mm. or 883.54 m3/rai, or 8.78 mm/day in average. T3 was irrigated by value of ET/E = 1.7 and received water in amount 905.97 mm. or 1,001.35 m3/rai, or 9.96 mm/day in average. T4 was irrigated by value of ET/E = 1.9 and received water in amount 1,012.55 mm. or 1,119.15 m3/rai, or 11.13 mm/day in average. T5 was irrigated by value of ET/E = 2.1 and received water in amount 1,119.13 mm. or 1,236.95 m3/rai, or 12.30 mm/day in average. T6 was irrigated by value of ET/E = 2.3 and received water in amount 1,225.72 mm. or 1,354.76 m3/rai, or 13.47 mm/day in average. The result has shown that the vegetative growth of oil palm has non significant different in statistics but the reproductive growth has highly significant different, as yield T1 could get the average yield of 4,110.98 kg/rai, T2 could get the average yield of 5,696.35 kg/rai, T3 could get the average yield of 6,001.88 kg/rai, T4 could get the average yield of 6,102.91 kg/rai, T5 could get the average yield of 6,221.82 kg/rai, and T6 could get the average yield of 5,723.19 kg/rai, T2 could get the average yield of 3,380.58 kg/rai, and their was maximum of water use efficiency which is 6.45 kg/m3
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: กรมชลประทาน
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำและการชลประทาน
เลขทะเบียนวิจัยกรม: สวพ. 03/2559
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: 5930003
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 590,300
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559
เอกสารแนบ: https://drive.google.com/file/d/1kZY6uiu5IcTsQybJdnDaM02kd4Y-sIOy/view?usp=share_link
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: สถานีทดลองการใช้น้ำชลประทานที่ 8 (นครศรีธรรมราช)
ช่วงเวลาที่รวบรวมข้อมูล: พ.ศ.2558-2559
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2559
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา กรมชลประทาน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: Submitted by รดา รุจณรงค์ (กรมชลประทาน) (rada_ru@rid.go.th) on 2018-04-17T08:33:12Z No. of bitstreams: 1 ผลของการใช้น้ำชลประทานเพิ่มเติม.pdf: 974285 bytes, checksum: 9648f158349be47123b7918988f6595c (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของการใช้น้ำชลประทานเพิ่มเติมต่อการเจริญเติบโตผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในช่วงฤดูแล้ง (ปีที่ 3)
สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา กรมชลประทาน
2559
เอกสารแนบ 1
กรมชลประทาน
ผลของการให้น้ำชลประทานเพิ่มเติมต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในช่วงฤดูแล้ง ปีที่ 3 ผลของการให้น้ำชลประทานเพิ่มเติมต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในช่วงฤดูแล้ง ปีที่ 2 ผลของการให้น้ำชลประทานเพิ่มเติมต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในช่วงฤดูแล้ง ปีที่ 2 ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในจังหวัดเพชรบุรี ปีที่ 3 การทดสอบและสาธิตเทคโนโลยีการจัดการสวนปาล์มน้ำมันในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ปีที่3 การทดสอบและสาธิตเทคโนโลยีการจัดการสวนปาล์มน้ำมันในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ปีที่3 ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของยางพารา ปีที่1 อิทธิพลของการให้น้ำและปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของปาล์มน้ำมันลูกผสมสุราษฎร์ธานี 7 ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตของไผ่ตงลืมแล้ง (ปีที่ 1) ผลของการให้น้ำแบบประหยัดและการให้ปุ๋ยในระบบน้ำต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่น

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก