สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบกฤษณาเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เนติ วระนุช - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบกฤษณาเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ชื่อเรื่อง (EN): Study on bioactivity of Aquilaria subintegra leave extract for health products development
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เนติ วระนุช
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Neti Waranuch
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: สารสกัดนำของใบอ่อนกฤษณา (Aquilaria crassna) ประกอบด้วยสาร Mangiferin, Genkwanin, 5-O-β-primeveroside, Iriflophenone-3, 5-C-β-D-diglucoside และ Iriflophenone-3-C-β-D-glucoside ผลการทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดในหนูเพศเมียที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ต่ำกว่าปกติจากการตัดรังไข่ออกทั้งสองข้างโดยวิธีการกินติดต่อกันเป็นเวลา 2 เดือน พบว่าสารสกัดมีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลางอย่างอ่อนและช่วยบำรุงความจำ นอกจากนี้ยังสามารถกระตุ้นให้เซลล์ dermal papilla เจริญเติบโตได้ดี
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2560-07-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561-06-30
เอกสารแนบ: http://164.115.28.46/thaiexen/search_detail/result/3846
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2560
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบกฤษณาเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เนติ วระนุช
มหาวิทยาลัยนเรศวร
30 มิถุนายน 2561
เอกสารแนบ 1
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและความเป็นพิษต่อเซลล์ของสารสกัดใบกฤษณาและสารสำคัญต่อระบบหัวใจร่วมหลอดเลือดหนู การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลำไย โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระตุ้นการเจริญของเส้นผมที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากเหงือกปลาหมอ ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันทางชีวภาพของสารสกัดจากผักช้าเลือด เพื่อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต้านอนุมูลอิสระ ศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์มะไฟจีน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียในช่องปากจากสารสกัดผลมะแขว่น การวิจัยและพัฒนาสารสกัดและสารออกฤทธิ์จากฟ้าทะลายโจรที่มีฤทธิ์ยับยั้งการทำลายกระดูกอ่อนในโรคข้อเสื่อม โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมและเครื่องสำอางเชิงพาณิชย์ โครงการย่อย : โครงการพัฒนาสารสกัดจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติและสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อเป็นอาหารเสริมและเครื่องสำอาง กิจกรรม : การปรับปรุงคุณภ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมและเครื่องสำอางเชิงพาณิชย์ โครงการย่อย : โครงการพัฒนาสารสกัดจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติและสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เพื่อเป็นอาหารเสริมและเครื่องสำอาง กิจกรรม : การทดสอบประสิท การศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบและฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดโคนต้นหม่อน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก