สืบค้นงานวิจัย
การขุนโค สำหรับเกษตรกรรายย่อย
วิสุทธิ์ หิมารัตน์ - กรมปศุสัตว์
ชื่อเรื่อง: การขุนโค สำหรับเกษตรกรรายย่อย
ชื่อเรื่อง (EN): ----
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วิสุทธิ์ หิมารัตน์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ทวีชัย อวิรุทธพาณิชย์
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ตากได้ส่งเสริมให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการโคพันธุ์ นำลูกโคเพศผู้ที่เกษตรกรผลิตได้มาเลี้ยงขุน เพื่อเป็นการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการขุนโคของเกษตรกรรายย่อย เป็นข้อมูลในการทดสอบพ่อพันธุ์ และสร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรกรโดยให้เกษตรกร ใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ต้นข้าวโพด ฟางข้าว ยอดอ้อย เป็นต้น มาใช้เลี้ยงโคเสริมกับหญ้า
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2548
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2548
เอกสารแนบ: http://breeding.dld.go.th/th/images/document/beef/fat_beef_small_book.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมปศุสัตว์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การขุนโค สำหรับเกษตรกรรายย่อย
กรมปศุสัตว์
2548
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมปศุสัตว์
การศึกษาวิธีการปรับปรุงพันธุ์ปลานิลของเกษตรกรรายย่อยใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การศึกษาภาวะความเป็นผู้นำของเกษตรกรรายย่อย กรณีศึกษาจากผลการอบรมผู้แทนเกษตรกรรายย่อย การทดสอบและสาธิตการใช้หญ้าแพงโกล่าสดขุนโคเนื้อในฟาร์มเกษตรกรรายย่อย การใช้เทคโนโลยีในสวนปาล์มน้ำมันที่ให้ผลผลิตแล้วของเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดพังงา การใช้เทคโนโลยีในสวนปาล์มน้ำมันที่ให้ผลผลิตแล้ว ของเกษตรกรรายย่อยใน จ.ตรัง ความเป็นไปได้ในการเลี้ยงขุนโคพื้นเมืองของเกษตรกรรายย่อย การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตข้าวฟ่างหมักสำหรับเกษตรกรรายย่อย เพื่อการจำหน่ายในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว การใช้เทคโนโลยีในสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดกระบี่ การจัดกระบวนการเรียนรู้สำหรับเกษตรกรของนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร การวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ข้าวสำหรับเกษตรกรรายย่อยจังหวัดราชบุรี

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก