สืบค้นงานวิจัย
การตรวจสอบพันธุ์ และความบริสุทธิ์ของสายพันธุ์กระเจี๊ยบเขียว โดยใช้เครื่องหมายอาร์เอพีดี
ดำเกิง ป้องพาล - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การตรวจสอบพันธุ์ และความบริสุทธิ์ของสายพันธุ์กระเจี๊ยบเขียว โดยใช้เครื่องหมายอาร์เอพีดี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ดำเกิง ป้องพาล
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: จากการนำพันธุ์กระเจี๊ยบเขียว จำนวน 28 สายพันธุ์ มาจำแนกพันธุ์โดยเทคนิค อาร์เอพีดี โดยสุ่มใช้ไพรเมอร์ 27 ชนิด พบว่ามีไพรเมอร์จำนวน 11 ชนิด หรือ ร้อยละ 41 ที่เพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ ได้ และมี 5 ชนิดประกอบด้วย OPA - 07 OPB - 01 OPB - 03 OPO - 09 และ OPO - 11 ที่ สามารถทำให้เกิดความแตกต่างกันทางพันธุกรรมของแถบดีเอ็นเอระหว่างพันธุ์ได้ โดยปรากฎแถบดี เอ็นเอทั้งหมด 419 แถบ และเป็นแถบดีเอ็นเอที่แตกต่างกัน 217 แถบ หรือ ร้อยละ 51.78 เมื่อนำ ข้อมูลไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม NTsys ปรากฎว่า มีค่าดัชนีความเหมือน (similarity index) เท่ากับ 0.32 และสามารถแยกกลุ่มกระเจี๊ยบเขียวออกเป็น 8 กลุ่ม ตามความใกล้ชิดทางพันธุกรรมได้
บทคัดย่อ (EN): In the study of RAPD technique among 28 cultivars of Okra for identification and genetic relationship, Using oligonuclelide 27 primers, The result indicated that eleven primers or 41 percentage could amplified DNA bands. Moreover, out of the eleven primers, only five primers: OPA-07, OPB-01, OPB - 03, OPO - 09 and OPO - 11 performed highly polymorphic banding pattern which is effective for cultivar classification. As it is shown 217 or 51.78 percentage from 419 bands. After analyzed the bands with Program, the lower similarity index is 0.32 and the dendrograms for the eight groups formed,,were also found very close to each other and there is differentiation of the accession inside. Twenty- eight parent lines and hybrid varieties, developed by Okra Improvement project of MJU were used in this experiment of genetic purity test, while forty of arbitrary 10 - mer primers were screened for polymorphic RAPD, two kinds of them, OPA-07 and OPB - 10 produced amplified pattern. In addition, OPA - 07 gave the maximum number of polymorphisms: among 28 hybrid varieties, 14 were found with hybrid representing 100 percentage level of seed hybridity efficiently and reliably used for cultivar identification and hybrid purity test.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะผลิตกรรมการเกษตร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-48-008.1
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2548
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2548
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การตรวจสอบพันธุ์ และความบริสุทธิ์ของสายพันธุ์กระเจี๊ยบเขียว โดยใช้เครื่องหมายอาร์เอพีดี
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2548
การตรวจสอบพันธุ์และความบริสุทธิ์ของสายพันธุ์กระเจี๊ยบเขียวโดยใช้เครื่องหมายอาร์เอพีดี การรวบรวมและจำแนกสายพันธุ์เห็ดหอมที่เพาะเพื่อการค้าด้วยเครื่องหมายโมเลกุล อาร์เอพีดี ความหลากหลายทางพันธุกรรมของปลาดุกลำพันโดยใช้เทคนิคอาร์เอพีดี การจำแนกพันธุ์สบู่ดำโดยใช้เทคนิคอาร์เอพีดี การแสดงออกของพันธุ์และสายพันธุ์ถั่วฝักยาวในการปลูกแบบอินทรีย์และแบบใช้สารเคมี การจำแนกสายพันธุ์และความต้านทานต่อโรค Streptococcosis ของปลานิล (Oreochromis niloticus Linnaeus) การประเมินลักษณะประจำสายพันธุ์และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกระเจี๊ยบเขียวด้วยเครื่องหมายไอเอสเอสอาร์ การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของมะม่วงหิมพานต์ ในภาคใต้ ด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยาของผลเทียม และเครื่องหมายอาร์เอพีดี การใช้ Bulked Segregant Analysis เพื่อระบุเครื่องหมายโมเลกุลชนิด RAPD ที่มีตำแหน่งใกล้กับยีนควบคุมความต้านทานโรคยอดไหม้ในถั่วลิสง การหาเครื่องหมายพันธุกรรม (DNA marker) ของลักษณะที่ควบคุมปริมาณ antioxidants ในเม่าต่างสายพันธุ์เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการปรับปรุงพันธุ์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก