สืบค้นงานวิจัย
การเพาะพันธุ์ปลาหมูข้างลายด้วยฮอร์โมนชนิดต่างๆ เพื่อเร่งการตกไข่
จิราพร พรหมประเสริฐ - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเพาะพันธุ์ปลาหมูข้างลายด้วยฮอร์โมนชนิดต่างๆ เพื่อเร่งการตกไข่
ชื่อเรื่อง (EN): Breeding of Tiger Loach (Botia helodes Sauvage, 1876) with Hormonal Priming Treatment Ovulation
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จิราพร พรหมประเสริฐ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Tiger Loach, Botia helodes, width size of the abdomen, hormone, Ovulatiom
บทคัดย่อ: การเพาะพันธุ์ปลาหมูข้างลายด้วยการฉีดฮอร์โมนชนิดต่างๆ เพื่อกระตุ้นการพัฒนาการของไข่ให้มีความสมบูรณ์และพร้อมที่จะตกไข่ ได้ด าเนินการที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน ้าจืดพิจิตร ระหวางเดือน ่ตุลาคม 2551 ถึงเดือนกนยายน ั 2552 ชนิดและปริมาณของฮอร์โมนที่ใช้ประกอบด้วย human chorionic gonadotropin (HCG) ที่ระดับความเข้มข้น 500IU ต่อกิโลกรัม ฮอร์โมนสังเคราะห์ buserelin acetate (BUS) ที่ระดับความเข้มข้น 0.5 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม BUS ที่ระดับความเข้มข้น 0.5 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมร่วมกบยาเสริมฤทธิ ั ์domperidone (DOM) ที่ระดับความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และ ชุดควบคุมที่ฉีด ด้วยน ้ากลัน ่ 1 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัม ทดลองฉีดฮอร์โมนให้แม่ปลาทุกชุดการทดลองทุกๆ 24 ชัวโมง เพื่อ ่ กระตุ้นการพัฒนาการของไข่ด้วยการประเมินจากขนาดส่วนท้องของแม่ปลาที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นและมีความสมบูรณ์พร้อมเพาะผสมเทียมด้วยวิธีผสมเทียมแบบแห้ง พบว่าแม่ปลาที่ฉีด HCG เพียงอยางเดียวที่ระดับ ่ ความเข้มข้น 500 IU ต่อกิโลกรัม สามารถกระตุ้นให้แม่ปลาหมูข้างลายตกไข่ได้ 100 เปอร์เซ็นต์หลังจากน าไปฉีดด้วย BUS 10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ร่วมกบั DOM 10 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม เป็ นระยะเวลา 8–9 ชัวโมง พบว ่ าอัตราการปฏิสนธิ ่ เฉลี่ย อัตราการฟักเฉลี่ย จ านวนไข่เฉลี่ยต่อแม่และอัตราการรอดเฉลี่ยของลูกปลาที่ฉีดกระตุ้นด้วย HCG 2 ครั้ง ห่างกน ั 24 ชัวโมง ่ ให้ผลดีกวาการฉีดกระตุ้นเพียง ่ ครั้งเดียว โดยมีความแตกต่างอยางมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่ ่ อมัน ่ 95 เปอร์เซ็นต์ (p<0.05) ส าหรับการพัฒนาของคัพภะพบว่าไข่ปลาหมูข้างลายเป็ นไข่ครึ่ งจม ครึ่ งลอย ลักษณะกลมมีสีเขียวแก่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง1.05-1.25 มิลลิเมตร ฟักออกเป็ นตัวใช้เวลา 12 ชัวโมง ่ 35 นาทีที่อุณหภูมิของน ้า 26.1-26.3องศาเซลเซียส และลูกปลาหมูข้างลายวัยอ่อนพัฒนาจนมีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยใช้เวลา 50 วัน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
เอกสารแนบ: http://inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=67
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพาะพันธุ์ปลาหมูข้างลายด้วยฮอร์โมนชนิดต่างๆ เพื่อเร่งการตกไข่
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2554
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
ผลของฮอร์โมนชนิดต่างๆ ต่อการตกไข่ของปลาสายยู การเพาะพันธุ์ปลาหมูข้างลายด้วยฮอร์โมนชนิดต่าง ๆ เพื่อเร่งการตกไข่ การเพาะพันธุ์ปลาหมูโยโย่ด้วยฮอร์โมนชนิดต่าง ๆ เพื่อเร่งการตกไข่ ผลของฮอร์โมนต่างชนิดต่อการวางไข่ปลายอนหลังเขียว การกระตุ้นความสมบูรณ์เพศด้วยฮอร์โมนเพื่อการตกไข่ของแม่ปลาโมง ผลของระดับฮอร์โมน เอฟเอสเอช ต่อการเพิ่มการตกไข่ในโคพื้นเมืองสายอีสาน ผลของระดับฮอร์โมน เอฟเอสเอช ต่อการเพิ่มการตกไข่ในโคพื้นเมืองสายอีสาน ผลการกระตุ้นการตกไข่หลายใบโดยการใช้ฮอร์โมนเอฟเอสเฮชเข้ากล้ามเนื้อชนิดแบ่งฉีดสองเข็มในโคนมลูกผสมพันธุ์ไทยโฮลสไตน์ การเหนี่ยวนำพัฒนาการของฟอลลิเคิลและการตกไข่ในแพะพื้นเมืองไทยโดยใช้ฮอร์โมน FSH แบบลด ร่วมกับ hCG ผลของการลดขนาดฮอร์โมนFSHโดยการฉีดเข้าเยื่อเมือกบุช่องคลอดต่อการเพิ่มการตกไข่ในโคบราห์มัน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก