สืบค้นงานวิจัย
โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Corynespora ในยางพารา
สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง - สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ชื่อเรื่อง: โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Corynespora ในยางพารา
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: โครงการวิจัยนี้เสนอที่จะทำการทำ Genotyping by Sequencing ประชากรยางพาราลูกผสม BPM24 x RRIC110 โดยที่ BPM24 ใช้เป็นแม่พันธุ์ของประชากรเนื่องจากเป็นพันธุ์ที่มีความต้านทานเชื้อ Corynespora ในขณะที่ RRIC110 เป็นพันธุ์ที่อ่อนแอต่อเชื้อ Corynespora และข้อมูล Genotype ที่ได้จะถูกใช้ในการสร้างแผนที่พันธุกรรมและใช้ในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องหมายโมเลกุลแบบ SNP ที่ได้กับลักษณะความต้านทาน/อ่อนแอต่อโรค</p>
บทคัดย่อ (EN): We propose to genotype a mapping population from BPM24 x RRIC110 to study genetic basis underlying disease tolerance/susceptibility. BPM24 is selected as a maternal line for both populations because this variety is highly resistance to Corynespora. Whereas RRIC110 is susceptible to Corynespora. The population developed from parents with extreme phenotypes are expected to show a high level of phenotype variation within the population. We expect to observe QTL or genes related to these traits.</p>
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Corynespora ในยางพารา
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2559
กลุ่มวิจัยยางพารา โครงการวิจัยการค้นหาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตจากพันธุกรรมของยางพารา การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การเก็บรักษาคัพภะยางพาราในสภาพอุณหภูมิต่ำในหลอดทดลอง การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน ลักษณะทางสรีรวิทยาและการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่มีความสัมพันธ์กับความต้านทาน ต่อเชื้อรา Phytophthora การพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับขบวนการสร้างเนื้อไม้ยางพารา การค้นหาเครื่องหมายโมเลกุลควบคุมการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตจากพันธุกรรมของยางพาราโดยวิธี Association Mapping โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Phytophthora ในยางพารา ผลของไคโตซานต่อระดับของโมเลกุลส่งสัญญาณ (SA; JA และ ABA) และการแสดงออกของ marker genes ในระบบป้องกันตนเองของยางพารา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก