สืบค้นงานวิจัย
ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์ข้าวเหนียวในเขตภาค-เหนือของประเทศไทย
อภิชาติ สวนคำกอง - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์ข้าวเหนียวในเขตภาค-เหนือของประเทศไทย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อภิชาติ สวนคำกอง
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: พันธุ์ข้าวเหนียวขาวที่สามารถเก็บรวบรวมและปลูกขยายเมล็ดพันธุ์ได้มีจำนวนทั้งหมด 30 พันธุ์ ส่วนข้าวเหนียวดำมีจำนวน 20 พันธุ์ โดยเก็บตัวอย่างพันธุ์ข้าวจาก 13 จังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย ข้าวเหนียวต่างพันธุ์กันมีลักษณะทางการเกษตรแตกต่างกันและมีชื่อเรียกพันธุ์ข้าวเหนียวแตกต่างกันตามคุณลักษณะของข้าว ถิ่นปลูกตลอดจนชื่อชาวนาที่ปลูกคัดเลือกพันธุ์มาแต่อดีต รวมถึงอายุการเก็บเกี่ยว เช่น พันธุ์ดอ หมายถึงพันธุ์ที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั้นหรือเป็นพันธุ์ข้าวเบา พันธุ์ข้าวเหนียวทั้งหมดถือว่ามีความหลากหลายทางพันธุกรรม และมีคุณค่าอย่างยิ่งต่อการเก็บรักษาเชื้อพันธุ์และปลูกขยายพันธุ์สำหรับศึกษาลักษณะทางการเกษตรของคุณภาพของข้าว ตลอดจนการปลูกเพื่อเพิ่มปริมาณและจำนวนเมล็ดพันธุ์ให้มากยิ่งขึ้น และสามารถกระจายพันธุ์ให้แก่ชาวนาผู้สนใจปลูกข้าวเหนียวเพื่อการบริโภคและการค้าต่อไป
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะผลิตกรรมการเกษตร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-42-002
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2542
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2542
เอกสารแนบ: http://webpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/research/2549/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99/Apichat_Suankhamkong_2541/fulltext.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์ข้าวเหนียวในเขตภาค-เหนือของประเทศไทย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2542
เอกสารแนบ 1
ความหลากหลายทางพันธุกรรมของแมลงวันผลไม้ Bactrocera latifrons ในภาคกลางของประเทศไทย ค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมของลักษณะความสมบูรณ์พันธุ์ของโคนมในประเทศไทย ความหลากหลายของแมลงศัตรูธรรมชาติของวัชพืชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย สมดุลธาตุอาหารในระบบการปลูกปลูกหมุนเวียนข้าว - ถั่ว บนพื้นที่สูงใน ภาคเหนือของประเทศไทย พันธุกรรมของไม้พะยูง Dalbergia cochinchinensis Pierre ความหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสร้างประชากรของเชื้อพันธุ์ข้าวพื้นเมือง ในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย ผลของอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลงความหนืด ของข้าวพันธุ์ต่างๆ ความหลากหลายทางพันธุกรรมและจำแนกกลุ่มพันธุกรรมไก่พื้นเมืองในจังหวัดน่านด้วยไมโครแซทเทิลไลท์ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อราแป้งใน Tribe Phyllactinieae ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ความหลากหลายทางพันธุกรรมและสายสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของพยาธิเข็มหมุดในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก