สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาชนิดของเชื้อราก่อโรคจากใบยางพาราในเขตจังหวัดศรีสะเกษ
สิริพร ยศแสน - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: การศึกษาชนิดของเชื้อราก่อโรคจากใบยางพาราในเขตจังหวัดศรีสะเกษ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สิริพร ยศแสน
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้จำกัดการศึกษาในสวนยางพารา เขตพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ โดยทำการเก็บตัวอย่างใบยางพาราที่มีอายุในการปลูก 2-7 ปี ที่ตำบลกระแชง อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จากนั้น นำตัวอย่างมาทำการทดสอบแบบ in vitro เท่านั้น ด้วยการเก็บตัวอย่างใบของยางพาราที่เกิดโรค มาทำการคัดแยก และจำแนกชนิดของเชื้อราที่เป็นสาเหตุการก่อให้เกิดโรคที่ใบ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการป้องกันการเกิดโรค
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาชนิดของเชื้อราก่อโรคจากใบยางพาราในเขตจังหวัดศรีสะเกษ
การยางแห่งประเทศไทย
2558
กลุ่มวิจัยยางพารา การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation ราที่มีศักยภาพในอุตสาหกรรมการย่อยสลายแป้งและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจากระบบนิเวศวิทยาป่าอุทยานสัตว์ป่าอุบลราชธานี ประสิทธิภาพของสารกำจัดเชื้อราประเภทดูดซึมบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora parasitica KK8 ซึ่งเป็นสาเหตุโรคโคนเน่าของพลู การแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความต้านทานต่อเชื้อราที่ก่อให้เกิดโรครากขาวในยางพารา ประสิทธิภาพของการป้องกันกำจัดโรคพืชประเภทดูดซึมบางชนิดต่อเชื้อรา Phytophthora parasitica NK1 สาเหตุโรคโคนเน่าของพลู พืชอาศัยเชื้อราโรครากแดงของยางพารา พืชอาศัยเชื้อราออยเดียมของยางพารา การป้องกันเชื้อราและปลวกบนไม้ยางพาราโดยใช้สารธรรมชาติ

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก