สืบค้นงานวิจัย
การอนุบาลลูกปลาหนวดพราหมณ์ (หนวด 7 เส้น) ด้วยความหนาแน่นแตกต่างกันในระบบน้ำหมุนเวียน
ชิดชนก นิยมไทย - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การอนุบาลลูกปลาหนวดพราหมณ์ (หนวด 7 เส้น) ด้วยความหนาแน่นแตกต่างกันในระบบน้ำหมุนเวียน
ชื่อเรื่อง (EN): Nursing on Paradise Threadfin, (Polynemus longipectoralis Weber & de Beaufort, 1922), at Different Stocking Densities using Recirculating Water System
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชิดชนก นิยมไทย
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การอนุบาลลูกปลาหนวดพราหมณ์ (หนวด 7 เส้น) ด้วยความหนาแน่นแตกต่างกัน ในระบบน้้าหมุนเวียนชิดชนก นิยมไทย1ประสิทธิ์ นิยมไทย1สุจิตรา สรสิทธิ์1อรรถพล โลกิตสถาพร2และ ณพัชร สงวนงาม31ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําจืดอุทัยธานี2ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดลําปาง3ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดลพบุรีค าน าปลาหนวดพราหมณ์ (หนวด7เส๎น) Polynemus longipectoralis (Weber&de Beaufort, 1922 ) เป็นปลาน้ําจืดที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ทั้งในด๎านการเลี้ยงเพื่อเป็นปลาสวยงาม และเป็นปลาที่บริโภค จัดอยูํในวงศ์ปลากุเรา(Family Polynemidae) มีชื่อสามัญวํา Paradise Threadfins (Nelson, 1994) ปลาในครอบครัวนี้อาศัยอยูํในทะเล เว๎นแตํปลาหนวดพราหมณ์ที่เข๎ามาในน้ําจืด ซึ่งพอสังเกตได๎จากครีบอก ที่แบํงออกเป็น 2 สํวนสํวนบนเหมือนครีบอกของปลาธรรมดาอื่นๆแตํสํวนลํางแบํงเป็นเส๎น ๆ มากบ๎างน๎อยบ๎างจาก 3 ถึง 14 เส๎น ตามชนิดของปลา ปลาชนิดนี้มีหนวดที่อก 7 เส๎น ซึ่งยาวไมํเทํากัน โดย3 เส๎น ตอนบนดูเหมือนจะยาวเป็น 2 เทําของลําตัว ทั้งตัวเล็กและตัวใหญํมีสีเหลืองหลังเทาหรือเขียวพบในแมํน้ําเจ๎าพระยา แมํน้ําบางปะกงและในลําน้ําที่ไหลสูํอําวไทย และพบปลาหนวดพราหมณ์หนวดเจ็ดเส๎น ที่แมํน้ําสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี(ชวลิตและคณะ,2540; สมโภชน์ และกาญจนรี, 2543; ประสิทธิ์ และชิดชนก, 2552) ปลาหนวดพราหมณ์ (หนวด7เส๎น) มีลักษณะเดํน ก๎านครีบอกสํวนลํางแยกเป็นข๎างละ 7 เส๎น สามเส๎นบนมีความยาวมากกวําสองเทําของความยาวลําตัว มีเกล็ดบนเส๎นข๎างตัว 77-80 เกล็ด ครีบอกและครีบหางเรียวยาวและมีปลายแหลมบาง (รติมา ครุวรรณเจริญ, 2542) ปลาหนวดพราหมณ์ เป็นปลาที่ได๎รับความนิยมสําหรับผู๎ที่เลี้ยงปลาสวยงาม เนื่องจากเป็นปลาที่มีรูปทรงสวยงามขณะวํายน้ํา มีครีบอกที่ยาวพลิ้ว ทําให๎เป็นที่ต๎องการของตลาดปลาสวยงามทั้งในประเทศและตํางประเทศ เกษตรกรรวบรวมปลาหนวดพราหมณ์จากธรรมชาติ โดยเฉพาะในแมํน้ําสะแกกรังและแมํน้ําเจ๎าพระยา สํงจําหนํายให๎พํอค๎าปลาสวยงามที่จําหนํายในประเทศและสํงออกยังตํางประเทศโดยตรง ปลาหนวดพราหมณ์มีแนวโน๎มปริมาณลดลงอยํางตํอเนื่อง เนื่องจากสภาพแวดล๎อมที่เปลี่ยนแปลงไป การทําการประมงที่เกินกําลังผลิตในแหลํงน้ํา และการเกิดภัยธรรมชาติทั้งอุทกภัยและความแห๎งแล๎งในแหลํงน้ํา นับเป็นสาเหตุหนึ่งที่สํงผลให๎จํานวนปลาหนวดพราหมณ์ ในแหลํงน้ําธรรมชาติมีแนวโน๎มลดน๎อยลง โดยเฉพาะในแมํน้ําสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานีปัจจุบันพํอแมํพันธุ์ปลาหนวดพราหมณ์ที่รวบรวมไว๎ในบํอเลี้ยงยังไมํสามารถที่จะเพาะพันธุ์ได๎ ลูกปลาทั้งหมดได๎จากการเพาะพันธุ์ จากพํอแมํพันธุ์ที่รวบรวมจากแหลํงน้ําธรรมชาติที่มีความสมบูรณ์เพศในชํวงฤดูผสมพันธุ์ และจากการอนุบาลพบวําลูกปลาหนวดพราหมณ์ยังมีอัตรารอดต่ํา ปลาหนวดพราหมณ์เป็นปลาไทยประจําหนํวยงานของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดอุทัยธานี ในปี 2555 หนํวยงานได๎ดําเนินการเพาะพันธุ์โดยใช๎พํอแมํพันธุ์จากธรรมชาติได๎ลูกปลาจํานวนหนึ่ง ใช๎ในการศึกษาชนิดของอาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาหนวดพราหมณ์วัยอํอน อยํางไรก็ตามการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปลาหนวดพราหมณ์ยังขาดข๎อมูลอีกหลายด๎านรวมถึงข๎อมูลเกี่ยวกับความหนาแนํนที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลา ชํวงขนาด 1-2 เซนติเมตร เพื่อเพิ่มอัตรารอดสูงขึ้น และสามารถผลิตลูกปลาหนวดพราหมณ์ได๎ปริมาณที่เพิ่มขึ้นเพียงพอที่จะปลํอยสูํแหลํงน้ําธรรมชาติเพื่อคงความหลากหลายทางชีวภาพและสํงเสริมการเพาะเลี้ยงเพื่อเป็นปลาสวยงาม เป็นแนวทางในการพัฒนาความรู๎ในด๎านอื่นๆ เชํน การเพาะพันธุ์ปลาหนวดพราหมณ์จากพํอแมํพันธุ์ในบํอเลี้ยง ทดแทนพํอแมํพันธุ์ที่รวบรวมจากธรรมชาติที่นับวันจะมีปริมาณลดน๎อยลงรวมทั้งเป็นประโยชน์ในด๎านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําและพัฒนาไปสูํการเลี้ยงเชิงพาณิชย์ในรูปแบบตํางๆ ตํอไป
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-12-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การอนุบาลลูกปลาหนวดพราหมณ์ (หนวด 7 เส้น) ด้วยความหนาแน่นแตกต่างกันในระบบน้ำหมุนเวียน
กรมประมง
31 ธันวาคม 2558
กรมประมง
ผลของระดับความหนาแน่นต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตและคุณภาพน้ำในการเลี้ยงปลาหมอด้วยชุดถังเลี้ยงปลาระบบน้ำหมุนเวียน การอนุบาลลูกปลานิลแปลงเพศด้วยสูตรอาหารและความหนาแน่นที่ต่างกัน การเสริมแร่ธาตุให้ลูกกุ้งก้ามกรามในการอนุบาลในน้ำเค็มที่มีระบบหมุนเวียนแบบปิด การอนุบาลลูกกุ้งก้ามกรามด้วยสาหร่ายสไปรูลิน่าในระบบน้ำหมุนเวียนแบบปิด เทคนิคการให้อาหารในการอนุบาลลูกปลากะรังเสือ, Epinephelus fuscoguttatus (Forsskal, 1775) ด้วยอาหาสำเร็จรูป การอนุบาลปลาม้าในบ่อซีเมนต์ระบบน้ำหมุนเวียนด้วยความหนาแน่นต่างกัน รูปแบบการอนุบาลลูกปูม้าวัยอ่อนเพื่อลดการตายหมู่ ผลการเสริม Schizochytrium timacinum (D, Honda & Yokochi, 1998) ในอาหารมีชีวิตสำหรับการอนุบาลลูกปูทะเล (Scylla paramamosain Estampador, 1949) การใช้ประโยชน์จากเปลือกมังคุดในการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมด้วยระบบน้ำหมุนเวียนโดยผ่านการบำบัดด้วยผักบุ้งไฮโดรโพนิกส์ การอนุบาลปลาเวียนในบ่อซีเมนต์ด้วยความหนาแน่นแตกต่างกัน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก