สืบค้นงานวิจัย
ผลการเสริมข้าวกล้องงอกในผลิตภัณฑ์ไส้กรอกเปรี้ยวจากเนื้อโค
ถนอม ทาทอง - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลการเสริมข้าวกล้องงอกในผลิตภัณฑ์ไส้กรอกเปรี้ยวจากเนื้อโค
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of germinated brown rice (GABA) supplementation in Issan sausage product from beef
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ถนอม ทาทอง
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Tanom Tathong
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของการเสริมข้าวกล้องงอกในผลิตภัณฑ์ไส้กรอกเปรี้ยวจากเนื้อโคมีวัตถุประสงค์เพื่อหาระดับ ปริมาณการเสริมข้าวกล้องงอกที่เหมาะสมต่ออัตราการหมักในผลิตภัณฑ์ไส้กรอกเปรี้ยว(pH) และการศึกษาการยอมรับของ ผู้บริโภคต่อระดับการเสริมข้าวกล้องงอก โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 4 ทรีทเมนต์ 3 ซ้ำ คือ กลุ่มควบคุม กลุ่มเสริม 10%, 15% และ 20% ผลการศึกษา พบว่า อัตราการหมัก (pH) ที่0 และ 12 ชั่วโมง ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ(P>0.05) เมื่อทำการวัดที่24 ชั่วโมง พบว่า การเสริมข้าวกล้องงอกที่ระดับ 10% มีค่า pH สูงกว่าการเสริมที่ระดับ 15% และ 20% (P<0.05) ส่วนการวัดที่36 และ48ชั่วโมง พบว่า กลุ่มควบคุมมีค่า pH มากกว่าการเสริมที่ระดับ 10%(P<0.05) การศึกษา การยอมรับของผู้บริโภค พบว่า กลุ่มควบคุมและการเสริมข้าวกล้องไม่ทำให้การยอมรับของผู้บริโภคแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05)แต่ความชอบโดยรวมของผู้บริโภคต่อการเสริมแต่ละระดับ พบว่า เมื่อเสริมข้าวกล้องในระดับสูงขึ้น ค่าคะแนน การยอมรับของผู้บริโภคมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามระดับการเสริม คือ6.62,6.68,7.00 และ7.30 ตามลำดับ
บทคัดย่อ (EN): A study on effect of Germinated brow rice (GABA) supplement in Isaan sausage product from beef with the objective were to determine the amount of GABA supplementation at the appropriate level for fermented sausage acidity (pH) and to study of consumer acceptability of the GABA level of supplementation. The experimental design was CRD with treatment of 0, 10, 15 and 20% of GABA supplementations. Three replications for each treatment were performed. The result showed that the revel of fermentation (pH) at 0 and 12 h no significant difference statistically (P> 0.05) when measured at 24 hours showed that GABA rice supplement at 10% had pH value higher than 15% and 20% (P <0.05) as measured at 36 and 48 hours showed that the control group had pH higher than 10% (P <0.05). A study on consumer acceptability showed that the control group and GABA supplementation had no difference among treatments (P> 0.05). However; overall score of the consumers to enhance the level that was higher for GABA rice. The adoption rate of consumers has increased by enhancing the level of 6.62, 6.68, 7.00 and 7.30 respectively
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=127.pdf&id=794&keeptrack=6
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลการเสริมข้าวกล้องงอกในผลิตภัณฑ์ไส้กรอกเปรี้ยวจากเนื้อโค
ถนอม ทาทอง
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2555
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของการทดแทนเนื้อโคพื้นเมืองด้วยปอดโคต่อลักษณะคุณภาพของผลิตภัณฑ์มีตโลฟ ผลของการใช้จมูกข้าวทดแทนข้าวเหนียวในส่วนผสมต่อคุณภาพไส้กรอกเปรี้ยว การพัฒนารูปแบบการตลาดเนื้อโคและผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม: กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ผลของข้าวกล้องงอกต่อการลดความเป็นพิษของเซลล์ตับของหนูแรทภายหลังการได้รับ Dextromethorphan ศึกษาผลของอุณหภูมิในการลดความชื้นที่มีต่อปริมาณกรดแกมมาแอมิโนบิวทิริก ในผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกเพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร ผลของชนิด ความเข้มข้น และขั้นตอนการใช้น้ำสมุนไพรต่อสารต้านอนุมูลอิสระในข้าวกล้องงอก ผลของสารสกัดจากข้าวกล้องงอกต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและการสลายไขมันในเซลล์ไขมัน 3T3-L1 ของหนู ผลของการใช้น้ำตาลโตนดต่อคุณภาพของไอศกรีมน้ำนมข้าวกล้องหอมนิลงอก ผลของข้าวกล้องงอกต่อการเปลี่ยนแปลงระดับโปรตีนเบรนดีไรว์นิวโรโทรปิกแฟคเตอร์ เซลล์ประสาทในสมองส่วนฮิปโปแคมปัสและเซลล์ตับของหนูขาวที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดความจำบกพร่อง รูปแบบการผลิตและโอกาสทางการตลาดสำหรับเนื้อโคขาวลำพูนภายใต้สภาพการเลี้ยงของกลุ่มเกษตรในจังหวัดลำพูน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก