สืบค้นงานวิจัย
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหลังเขียวชนิด Sardinella gibbosa (Bleeker,1849) ฝั่งทะเลอันดามันของไทย
สนธยา บุญสุข, ทัศพล กระจ่างดารา, มนตรี สุมณฑา, ธุมาวดี ใจเย็น, จริยา ฤทธิสมาน - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหลังเขียวชนิด Sardinella gibbosa (Bleeker,1849) ฝั่งทะเลอันดามันของไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Stock Assessment of Sardine, Sardinella gibbosa (Bleeker, 1849) along the Andaman Sea Coast of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหลังเขียวชนิดSardinella gibbosa (Bleeker,1849) ทางฝ??ง ทะเลอันดามันของประเทศไทย โดยเก็บรวบรวมข?อมูลจากเครื่องมืออวนล?อมจับ 5 ชนิดอวนล?อมจับป??นไฟ อวนดําอวนล?อมจับขนาดตาอวน 1.5 เซนติเมตรอวนล?อมซั้ง และอวนเขียว ที่นําสัตว?น้ํามาขึ้นท?าในเขต จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรังและสตูล ในระหว?างเดือนมกราคม ถึงธันวาคม พ.ศ. 2550 มีอัตรา การจับของปลาหลังเขียวชนิดนี้เท?ากับ 69.31, 74.86, 5.29, 15.12 และ 8.36 กิโลกรัม/วัน ตามลําดับ มีแหล?ง ทําการประมงตลอดแนวชายฝ??งทะเลอันดามันรวมทั้งบริเวณน?านน้ําประชิดเพื่อนบ?านไทย-พม?าและไทย- มาเลเซีย ที่ระดับความลึก 10-70 เมตรโดยมีช?วงความยาวตลอดตัวที่ถูกจับมาใช?ประโยชน?ระหว?าง 4.00-21.00 เซนติเมตร มีสมการการเติบโตของ von Bertalanffy เท?ากับ Lt = 22.30(1-e-1.47 (t- (-0.00721)) ) ค?าสัมประสิทธิ์การ ตายรวม (Z) เท?ากับ 9.43 ต?อป?ค?าสัมประสิทธิ์การตายโดยธรรมชาติ (M) เท?ากับ 2.04 ต?อป? ค?าสัมประสิทธิ์ การตายเนื่องจากการทําประมง (F) เท?ากับ 7.39 ต?อป? ขนาดความยาวแรกที่เริ่มเข?าสู?ข?ายการประมงเท?ากับ 4.00 เซนติเมตร มีผลผลิตสูงสุดที่ยั่งยืน (MSY) เท?ากับ 14,824.99 เมตริกตัน ระดับการลงแรงประมงที่เหมาะสม เพิ่มขึ้นได?อีกร?อยละ 40 ของการลงแรงประมงใน พ.ศ. 2550
บทคัดย่อ (EN): The stock assessment of goldstripe sardinella, Sardinella gibbosa (Bleeker,1849) along the Andaman Sea coast of Thailand was studied by collecting data from five types of purse seines comprising light luring purse seine, Thai purse seine, purse seine mesh size 1.5 cm, fish aggregating device purse seines and green purse seines, which landed at fishing ports in Ranong, Phang-nga, Phuket, Krabi, Trang and Satun Province during January - December 2007. Catch rates of fish were 69.31, 74.86, 5.29, 15.12 and 8.36 kg/day, respectively. Fishing grounds were along the Andaman Sea coast including ThaiMyanmar and Thai-Malaysia boundary waters where water depths 10-70 meter. The fish were 4.00-21.00 cm in total length. The von Bertalanffy growth equation was L t = 22.30 (1-e-1.47 (t- (-0.00721) ). The total mortality coefficient (Z) was 9.43 per year, the natural mortality coefficient (M) was 2.04 per year and the fishing mortality coefficient (F) was 7.39 per year. The first size recruitment to fishing ground was 4.00 cm in total length. The maximum sustainable yield (MSY) was 14,824.99 metric tons. Optimum fishing effort could be increased 40 % of the fishing effort in 2007.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-12-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหลังเขียวชนิด Sardinella gibbosa (Bleeker,1849) ฝั่งทะเลอันดามันของไทย
กรมประมง
31 ธันวาคม 2551
กรมประมง
ทรัพยากรกั้งตั๊กแตนทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทู Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851) ทางฝั่งทะเลอันดามันตอนล่างของประเทศไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหลังเขียวชนิด Sardinella gibbosa (Bleeker, 1849) ในอ่าวไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาลัง (Rastrelliger kanagurta (Cuvier, 1816)) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรกุ้งโอคักทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาปากคมชนิด Saurida undosquamis และ S. elongata ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรกั้งกระดาน (Thenus unimaculatus Burton and Davie, 2007) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาตาหวานจุด (Priacanthus tayenus Richardson, 1846) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทูแขกครีบยาว Decapterus maruadsi (Temminck & Schlegel, 1843) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก