สืบค้นงานวิจัย
การใช้สารสกัดฟีโนลิค (phenolic) จากเมล็ดลำไยเสริมในสูตรของผลิตภัณฑ์ไส้กรอกจากเนื้อสุกรเพื่อทดแทนสารเสริมสังเคราะห์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
จุฬากร ปานะถึก - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การใช้สารสกัดฟีโนลิค (phenolic) จากเมล็ดลำไยเสริมในสูตรของผลิตภัณฑ์ไส้กรอกจากเนื้อสุกรเพื่อทดแทนสารเสริมสังเคราะห์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
ชื่อเรื่อง (EN): Use of Phenolic compound Extract from Longan Seed Supplement in Pork Sausages for Synthesis Additive Replacement on shelf life and Sausages Quality
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จุฬากร ปานะถึก
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการใช้สารสกัดฟีโนลิคจากเมล็ดลาไยเพื่อใช้ทดแทนสารเคมีสังเคราะห์ในผลิตภัณฑ์ไส้กรอกจากเนื้อสุกรต่ออายุการเก็บรักษาและคงคุณภาพ โดยใช้สารกัดทดแทนที่สารสังเคราะห์ในอัตราส่วนต่าง ๆ ได้แก่ 0:100, 20:80, 40:60, 60:40, 80:20 and 100:0 ตามลาดับ ผลการทดลองพบว่าการใช้สารสกัดจากเมล็ดลาไยสามารถช่วยปรับปรุงคุณภาพของไส้กรอกโดยช่วยรักษาความเป็นกรด – ด่างของผลิตภัณฑ์และยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาอ๊อกซิเดชัน แต่อย่างไรก็ตามการใช้สารสกัดจากเมล็ดลาไยในระดับที่สูงขึ้นส่งผลต่อลักษณะการแสดงออกของสีที่ไม่พึงประสงค์และความสามารถในการอุ้มน้าของผลิตภัณฑ์ที่ลดลง จากผลการทดลองครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า การทดแทนสารเคมีสังเคราะห์ในสูตรของผลิตภัณฑ์ไม่ควรเกินร้อยละ 20 ซึ่งยังทาให้ผลิตภัณฑ์ไส้กรอกยังมีคุณภาพที่เหมาะสม
บทคัดย่อ (EN): This study was conducted to assess the effect of phenolic compound extract from longan seed supplement in pork sausages for synthesis additive replacement on shelf life and sausages quality. The phenolic extraction was applied in pork sausages with 6 ratios to replacement chemical reagent 0:100, 20:80, 40:60, 60:40, 80:20 and 100:0 (v/w) respectively. The results shown that phenolic extraction could be maintained pH value and reduce lipid oxidation reaction in term of TBARS of the pork sausages. However, increasing level of phenolic extraction to the product had the resulted to poor color appearance and also lower water holding capacity. Base on this study, itcould be concluded that replacement chemical reagent with phenolic extraction within 20% showed the advantage result than other concentration.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-61-093
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2560
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้สารสกัดฟีโนลิค (phenolic) จากเมล็ดลำไยเสริมในสูตรของผลิตภัณฑ์ไส้กรอกจากเนื้อสุกรเพื่อทดแทนสารเสริมสังเคราะห์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2561
ผลการเสริมผลิตภัณฑ์สารสกัดหยาบจากใบฝรั่งในอาหาร ต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตและลักษณะคุณภาพซากของสุกร ผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับสารเรืองแสง Rhodamin-B ต่อคุณภาพหลังการเก็บรักษาในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศลูกผสม การศึกษาการใช้ประโยชน์ได้ของสารโพลีฟีนอลในเมล็ดลำไยและกาก เมล็ดลำไยในอาหารไก่เนื้อ ผลของการใช้สารเสริมต่อคุณค่าทางโภชนะและคุณภาพของการผลิตยอดอ้อยหมัก การศึกษาวิธีการควบคุมการออกดอกของลำไย การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคุมศัตรูลำไยโดยไม่ใช้สารเคมี คุณภาพและระยะเวลาการเก็บรักษาไข่แดงเค็มอบพร้อมปรุง การศึกษาวิธีการแก้ไขปัญหาการออกดอกเว้นปีของลำไย ผลของกัมอารบิกที่มีผลต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวทุเรียนหลงลับแลเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ การแยกเนื้อในเมล็ดลำไยออกจากเมล็ดเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก