สืบค้นงานวิจัย
ศึกษาอิทธิพลของปุ๋ยหมักจากสารเร่งพด.1 ร่วมกับสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งพด.7 เพื่อผลิตผักกาดหัว
สุปราณี ศรีทำบุญ - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: ศึกษาอิทธิพลของปุ๋ยหมักจากสารเร่งพด.1 ร่วมกับสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งพด.7 เพื่อผลิตผักกาดหัว
ชื่อเรื่อง (EN): Study on effect of compost fertilizer from LDD no.1 and pesticide from LDD no.7 for Chinese radish crop
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุปราณี ศรีทำบุญ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ศึกษาอิทธิพลของปุ๊ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์พด.1 ร่วมกับสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากสาร เร่งพด.7 เพื่อผลิตผักกาดหัว ดำเนินการในพื้นที่สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD จำนวน 3 ซ้ำ กรรมวิธีประกอบด้วย 7 ตำรับการทดลอง ดังนี้ ตำรับการ ทดลองที่ 1 แปลงควบคุม (ไม่ใส่ปุ๋ขหมักและ ไม่ฉีดพ่นสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งพด.7) ตำรับ การทดลองที่ 2 (T2) ปุ้ยหมักจากสารเร่งซุปปอร์พด.1 อัตรา 4 ตัน/ไร่ และฉีดพ่นสารป้องกันแมลงสัตรูพืช จากหนอนตายหยากโดยใช้สารเร่งพด.7 ตำรับการทดลองที่ 3 (T3) ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์พด.1 อัตรา 2 ตัน/ไร่ และฉีดพ่นสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากหนอนตายหยากโดยใช้สารเร่งพด.7 ตำรับการ ทดลองที่ 4 (14) ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์พด.1 อัตรา 4 ตัน/ไร่ และฉีดพ่นสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจาก กลอยโดยใช้สารเร่งพด.7 ตำรับการทดลองที่ 5 (T5) ปุ๊ขหมักจากสารเร่งพด.1 อัตรา 2 ตัน/ไร่ และฉีดพ่น สารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากกลอยโดยใช้สารเร่งพด.7 ตำรับการทดลองที่ 6 (T6) ปุ๊ขหมักจากสารเร่ง ซุปเปอร์พด.1 อัตรา 4 ตัน/ไร่ และฉีดพ่น สารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากหนอนตายหยากร่วมกับกลอยโดยใช้ สารเร่งพด.7 ตำรับการทดลองที่ 7 (17) ปุ๊ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์พด.1 อัตรา 2 ตัน/ไร่ และฉีดพ่นสาร ป้องกันแมลงศัตรูพืชจากหนอนตายหยากร่วมกับกลอยโดยใช้สารเร่งพด.7 ผลการศึกษาอิทธิพลของปุ๊ขหมักจากสารเร่งซุปเปอร์พด.1 ร่วมกับสารป้องกันแมลง ศัตรูพืชจากสารเร่งพด.7 เพื่อผลิตผักกาดหัว พบว่าผลของใช้ปุ้ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์พด.1 และสาร ป้องกันแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งพด.7 โดยใช้หนอนตายหยากและกลอย ไม่มีความแตกต่างกันในทุกตำรับ การทดลอง รวมทั้งไม่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบ โตและผลผลิตของผักกาดหัว เมื่อเปรียบเทียบกับตำรับการ ทดลองที่ไม่ใส่ปุ๋ยหมักและ ไม่ฉีดพ่นสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งพด.7 สำหรับการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของดินในตำรับการทดลองที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก และสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากหนอนตายหยากและกลอยโดยใช้สารเร่งพด.7 ในอัตราเจือจางที่แตกต่าง กัน พบว่ามีแนวโน้มของปริมาณอินทรียวัดถุและธาตุอาหารใบดินเพิ่มสูงขึ้น จากผลการวิเคราะห์ดินก่อน การทดลองดินมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินอยู่ในระดับเป็นกรดจัด ()H 5.7) เละหลังการทคลองดินมีแนวโน้มความเป็นกรดเป็นด่างของดินเพิ่มสูงขึ้น อยู่ในช่วง JH 5.7-65 ซึ่งการใส่ปุ้ยหมักและสารป้องกัน แมลงศัตรูพืชจากหนอนตายหยากและกลอยไดยใช้สารเร่งพด.7 สามารถยกระดับอินทรียวัตถุให้สูงขึ้นจาก 0.84 เปอร์เซ็นต์ เป็น 1.12-167 เปอร์เซ็นด์ ส่วนปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประ โยษน์ก่อนการทดลองอยู่ในปริมาณ 39.4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หลังการทดลองพบว่ามีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น มีปริมาณ 42.82-1883 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และปริมาณโพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมแลกเปลี่ยนได้หลังการทดลอง มีปริมาณ 38-71 243-921 และ 21.59-57.72 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามลำดับ พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง มีปริมาณ 47 204 และ 38 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามลำดับ สรุปผลการศึกษาการศึกษาอิทธิพลของปุ๊ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์พด.1 ร่วมกับสาร ป้องกันแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งพด.7 เพื่อผลิตผักกาดหัว ได้ว่าการใส่ปุ๊ยหมักร่วมกับสารป้องกันแมลง ศัตรูพืชจากหนอนตายหยากและกลอยโดยใช้สารเร่งพด.7 มีผลต่อความอุคมสมบูรณ์ของดินเพิ่มสูงขึ้น
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-11-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-06-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษาอิทธิพลของปุ๋ยหมักจากสารเร่งพด.1 ร่วมกับสารป้องกันแมลงศัตรูพืชจากสารเร่งพด.7 เพื่อผลิตผักกาดหัว
กรมพัฒนาที่ดิน
30 มิถุนายน 2551
การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี ศึกษาเทคนิคการนำผลิตภัณฑ์สารเร่ง พด. สกัดสารจากพืชสมุนไพร เพื่อควบคุมแมลงศัตรูของพืชผัก การศึกษาเปรียบเทียบปริมาณธาตุอาหารพืชในปุ๋ยหมักจากสารเร่ง พด1 และปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน การผลิตเห็ดฟางจากทลายปาล์ม โดยใช้สารเร่งพด. 1 พด. 2 และ พด. 3 การศึกษาการปลูกพืชสมุนไพรสำหรับผลิตสารป้องกันแมลงศัตรูพืชเพื่อลดการใช้สารเคมี การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การศึกษาประสิทธิภาพของสารเร่ง พด.7 ในการป้องกันกำจัดหนอนชอน เปลือกลองกอง แผนงานวิจัยย่อยที่ 4 : การใช้ผลิตภัณฑ์สารเร่งพด.11 สำหรับปอเทืองและโสนอัฟริกันเพื่อเพิ่มมวลชีวภาพและปรับปรุงบำรุงดิน โครงการวิจัยที่ 1 ศึกษาอัตราการใช้ผลิตภัณฑ์สารเร่งพด.11 สำหรับปอเทืองเพื่อเพิ่มมวลช การประยุกต์ใช้เชื้อรา Beauveria bassiana สายพันธุ์ท้องถิ่นในการควบคุมศัตรูพืชเพื่อการผลิตผักวงศ์กะหล่ำปลอดภัยจากสารพิษ ศึกษาการใช้ปุ๋ยหมักจากสารเร่ง ซุปเปอร์ พด.1 และเชื้อจุลินทรีย์ควบคุมโรคพืชจากสารเร่ง ซุปเปอร์ พด.3 ทดแทนการใช้สารเคมีต่อผลผลิต และคุณภาพการเก็บรักษามันฝรั่ง ในกลุ่มชุดดิน 22

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก