สืบค้นงานวิจัย
การจัดกลุ่มปิ่นแก้วโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
อรพิน วัฒนเนสก์ - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: การจัดกลุ่มปิ่นแก้วโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
ชื่อเรื่อง (EN): Morphological Classification of Local Rice Variety - Pin Garew
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อรพิน วัฒนเนสก์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Orapin Watanesk
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ทำการประเมินลักษณะข้าวชื่อปิ่นแก้ว ซึ่งเก็บรวบรวมไว้ในธนาคาร เชื้อพันธุ์ข้าวแห่งชาติ ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี จำนวน 49 ตัวอย่างเชื้อพันธุ์ (accession) ในฤดูนาปี พ.ศ. 2543 ที่ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี เพื่อจัดกลุ่มลักษระคล้ายกันทางสัณฐานวิทยา (morphology) ตั้งแต่แตกกอสูงสุดและระยะเก็บเกี่ยว ซึ่งมีความแตกต่างกันระหว่างตัวอย่างเชื้อพันธุ์จำนวน 15 ลักษณะ มาใช้เป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์การ จัดกลุ่ม (cluster analysis) พบว่าที่ระยะห่าง 0.2 หรือคล้ายกัน 80% สามารถแบ่งได้ 6 กลุ่ม และจัดเข้ากลุ่มไม่ได้จำนวน 8 ตัวอย่างเชื้อพันธุ์
บทคัดย่อ (EN): Fourty-nine accessions of local rice variety namely Pingaew collected in the National Rice Genebank, were evaluated at Pathum Thani Rice Research Center in 2000 wet season, from and 8 accesions out of group were identified by a dendogram at a Rescaled distance of 0.2 or 80% similarity.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2545
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2545
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การจัดกลุ่มปิ่นแก้วโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
กรมวิชาการเกษตร
2545
เอกสารแนบ 1
การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของมะแว้งต้น การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่ การจำแนกชนิดปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจบางชนิดและลูกผสมในวงศ์ Pangasiidae โดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยา การใช้ประโยชน์ และสัณฐานวิทยา ของวัชพืชวงศ์หญ้าและวงศ์กกในจังหวัดนครศรีธรรมราช การใช้รังสีแกมมาชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาในกุหลาบหนู การใช้เทคนิค polyphasic approach เพื่อปรับปรุงการจัดกลุ่มของเชื้อราสกุล Phyllosticta ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคที่สำคัญ เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและลักษณะทางสัณฐานของไม้น้ำมวกเหล็ก 3 แหล่ง การศึกษาสัณฐานวิทยาและกายวิภาควิทยาของพืชสกุลบัวสาย เพื่อใช้ในการกำหนดลักษณะประจำสายพันธุ์ การแยก การจัดจำแนกชนิดและลักษณะทางสัณฐานวิทยาของสาหร่ายปรสิตพืช Cephaleuros spp. บนอาหารสังเคราะห์ สัณฐานวิทยาและจุลสัณฐานวิทยาของผลเพื่ออนุกรมวิธานพืชสกุล Fimbristylis Vahl (Cyperaceae) ในภาคตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก