สืบค้นงานวิจัย
อิทธิพลของการให้น้ำต่อการตอบสนองทางสรีระวิทยาและการให้ผลผลิตยางพาราในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
กิตติ สัจจาวัฒนา - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: อิทธิพลของการให้น้ำต่อการตอบสนองทางสรีระวิทยาและการให้ผลผลิตยางพาราในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of Irrigation on Physiological Response and Latex Yield of Rubber Trees (Hevea brasiliensis) at Northern Region Area, Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: กิตติ สัจจาวัฒนา
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การทดสอบข้าวพันธุ์ปลูก 29 พันธุ์และข้าวพันธุ์พื้นเมือง 47 พันธุ์จากศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานีมาปลูกทตสอบ ณ แปลงวิจัย มหาวิทยาลัยพะเยาในปี 2553 เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณเซลลูโล่ส พบว่า สามารถแบ่งข้าวออกเป็น 6 กลุ่ม โดยกลุ่มที่ 6 เป็นกลุ่มที่มีเซลลูโลสสูง (55.98-75.06 เปอร์เซ็นต์) และกลุ่มที่ 5 เป็นกลุ่มที่มีปริมาณเซลลูโลสต่ำ (21.96- 34.16 เปอร์เซ็นต์) โดย ข้าวพันซุปลูกมีปริมาณเซลลูโลสสูงสุด 3 อันดับแรก คือ พันธุ์ กข 27 (60.93 เปอร์เซ็นต์) ขาว ดอกมะลิ 105 (50.13 เปอร์เซ็นต์) และพันธุ์ กข 9 (49.66 เปอร์เซ็นต์) ส่วนพันธุ์พื้นเมืองที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงสุด 3 อันดับแรก คือ พันธุ์หอมบาง (75.06 เปอร์เซ็นต์) รังเก๋ (72.18 เปอร์เซ็นต์) และพันธ์ลาว (70.29 เปอร์เซ็นต์) โดย พันธุ์พื้นเมืองทั้ง 3 พันธุ์นี้ให้ปริมาณเซลลูโลสเฉลี่ยสูงสุดแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับพันธุ์ กข 27 ส่วน คำสหสัมพันธ์พบว่า ปริมาณซลลูโลสไม่มีความสัมพันธ์กับลักษณะทั่วไปของข้าว
บทคัดย่อ (EN): The examination 29 cultivated varieties and 47 local varieties from Pathum Thani Rice Research Center planting at University of Phayao experimental field, 2009. Analyzed similarity coefficients were used for cluster analysis rice cellulose. That could be separated into 6 groups, group 6 were highest rice cellulose content (55.98-75.06 percent) and group 5 were lowest rice cellulose content (21.96-34.16 percent). That 3 rank with highest rice cellulose of cultivated varieties were RD 27 (60.93 percent) Khao Dawk Mali 105 (50.13 percent) and RD 9 (49.66 percent). And 3 rank with highest rice cellulose of local varieties were Hawm Bang (75.06 percent) Rang Gow (72.18 percent) and Lao (70.29 percent). That 3 rank with highest rice cellulose of local varieties difference was statistically significant with RD 27. The correlation not related.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
อิทธิพลของการให้น้ำต่อการตอบสนองทางสรีระวิทยาและการให้ผลผลิตยางพาราในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2555
อิทธิพลพของการให้น้ำต่อการตอบสนองทางสรีระวิทยาและการให้ผลผลิตยางพาราในพื้นที่เหนือตอนบน ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตของยางพารา (ปีที่ 3) การศึกษาการตอบสนองของ Spirulina ต่ออุณหภูมิสูงและสภาวะขาดไนโตรเจน ในระดับ transcription: ระยะที่ 4 กลุ่มวิจัยยางพารา ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อรา Phytophthora spp. สาเหตุโรคของยางพารา (Hevea brasiliensis Muell.Arg.) ในพื้นที่เพาะปลูกจังหวัดสุราษฎร์ธานี การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การเก็บรักษาคัพภะยางพาราในสภาพอุณหภูมิต่ำในหลอดทดลอง การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน ผลของเอทธิลีนต่อการให้ผลผลิตของยางพาราพันธุ์ RRIM 600 และ BPM 24 พยากรณ์พื้นที่ปลูกและผลผลิตยางของประเทศไทย ปี 2536 – 2543

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก