สืบค้นงานวิจัย
การประมงโป๊ะน้ำตื้นทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
อำนวย คงพรหม, วิทยา พันธะกิจ, สนธยา บุญสุข, อำนวย คงพรหม, วิทยา พันธะกิจ, สนธยา บุญสุข - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การประมงโป๊ะน้ำตื้นทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Set Nets Fishery along the Andaman Sea Coast of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาการท้าการประมงโป๊ะน้้าตื้นทางฝั่งทะเลอันดามัน ในพื้นที่จังหวัดพังงา กระบี่ และสตูล โดยเก็บรวบรวมข้อมูลการประมงจากเครื่องมือโป๊ะน้้าตื้น ในเดือนมกราคม-ธันวาคม ๒๕๕๖ พบว่ามีอัตราการจับ เฉลี่ยทั้งปี เท่ากับ 7.07 ,21.05 ,41.88 และ 729.17 กก.ต่อวัน ในจังหวัดพังงา กระบี่ และสตูล ตามล้าดับ องค์ประกอบสัตว์น้้าจากโป๊ะในจังหวัดพังงา ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มปลาหน้าดิน รองลงมา เป็นกลุ่มปลาผิวน ้า กลุ่มหมึก กลุ่มกุ้ง และกลุ่มปู ตามล้าดับ จังหวัดกระบี่ ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มปลาหน้าดิน รองลงมาเป็นกลุ่มปลาผิวน ้า กลุ่มกุ้ง กลุ่มหมึก และกลุ่มปู ตามล้าดับ อ้าเภอเมือง จังหวัดสตูล ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มปลาหน้าดิน กลุ่มกุ้ง และกลุ่มหมึก อ้าเภอละงู จังหวัดสตูล ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มปลาผิวน ้า กลุ่มปลาหน้าดิน และกลุ่มปลาเป็ด ความยาวเฉลี่ยของปลาทู ที่จับได้จากการท้าการประมงโป๊ะน้้าตื้น เท่ากับ 11.40 ,12.14 ,10.57 และ 13.73 เซนติเมตร ในจังหวัดพังงา กระบี่ และสตูล ตามล้าดับ ความยาวเฉลี่ยของกุ้งแชบ๊วย ที่จับได้จากการท้าการประมงโป๊ะน้้าตื้น เท่ากับ 12.52 ,12.97 และ 10.83 เซนติเมตร ในจังหวัดพังงา กระบี่ และสตูล ตามล้าดับ จากองค์ประกอบความยาวของสัตว์น้้า ที่จับได้จากโป๊ะในจังหวัดพังงา พบว่ามีการน้าทรัพยากรสัตว์น้้ามาใช้ประโยชน์ก่อนถึงขนาดความยาวแรกเริ่ม สืบพันธุ์ ท้าให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ เท่ากับ 144 บาท/วัน จากองค์ประกอบความยาวของสัตว์น้้าที่จับได้ จากโป๊ะในจังหวัดกระบี่ พบว่ามีการน้าทรัพยากรสัตว์น้้ามาใช้ประโยชน์ก่อนถึงขนาดความยาวแรกเริ่มสืบพันธุ์ ท้า ให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ เท่ากับ 351.78 บาท/วัน จากองค์ประกอบความยาวของสัตว์น้้าที่จับได้จากโป๊ะ ในพื้นที่อ.เมือง จ.สตูล พบว่ามีการน้าทรัพยากรสัตว์น้้ามาใช้ประโยชน์ก่อนถึงขนาดความยาวแรกเริ่มสืบพันธุ์ ท้าให้ เกิดความสูญเสียทางเท่ากับ 560 บาท/วัน จากองค์ประกอบความยาวของสัตว์น้้าที่จับได้จากโป๊ะในพื้นที่อ.ละงู จ. สตูล พบว่ามีการน้าทรัพยากรสัตว์น้้ามาใช้ประโยชน์ก่อนถึงขนาดความยาวแรกเริ่มสืบพันธุ์ ท้าให้เกิดความสูญเสีย ทางเศรษฐกิจ เท่ากับ 5,669 บาท/วัน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประมงโป๊ะน้ำตื้นทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2557
กรมประมง
ทัศนคติของชาวประมงต่อมาตรการควบคุมการประมงโป๊ะน้ำตื้นทางฝั่งทะเลอันดามัน สมุทรศาสตร์การประมงบริเวณแหล่งประมงปลาทูน่าในทะเลอันดามัน การทำประมงลอบหมึกทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย สภาวะแวดล้อมในแหล่งประมงเขตชายฝั่งทะเลอันดามัน สภาวะทรัพยากรและวิถีตลาดกั้งกระดาน (Thenus spp.) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประมงอวนล้อมจับประกอบแสงไฟบริเวณจังหวัดพังงา สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย สภาวะแวดล้อมบางประการในแหล่งประมงบริเวณไหล่ทวีปทะเลอันดามัน ชีววิทยาการสืบพันธุ์ปลาข้างเหลืองชนิด Selaroides leptolepis (Cuvier, 1833)ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประมงกั้งกระดาน (Thenus unimaculatus Burton and Davie, 2007) ทางฝั่งทะเลอันดามันตอนบนของประเทศไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก