สืบค้นงานวิจัย
ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์ข้าวไร่พื้นเมืองในแขวงเซกองประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
นันทนา แจ้งสุวรรณ์ - มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
ชื่อเรื่อง: ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์ข้าวไร่พื้นเมืองในแขวงเซกองประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ชื่อเรื่อง (EN): Genetic diversity of Upland Rice (Oryza sativa) in Sekong District, Lao People’s Democratic Republic
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: นันทนา แจ้งสุวรรณ์
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ข้าวพื้นเมืองในแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่นำมาใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นข้าวพื้นเมืองที่ปลูกในอาเภอท่าแตงและอาเภอละมาม แขวงเซกองสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 23 ตัวอย่าง จากเส้นสายวิวัฒนาการที่สร้างจากลาดับเบสไอที เอสโดยใช้ไพรเมอร์ที่สามารถเพิ่มปริมาณชิ้นส่วนไอทีเอสในพืช (Lee et. al. 2002) คือ ITS1 GTCCACTGAACC TTATCATTTAG และITS4 TCCTCCGCTTATTGATATGC สามารถแบ่งข้าวไร่ ออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ได้แก่ข้าวเตี้ย (เซิ่นเน) (บ้านติ้ง) ข้าวก่า (บ้านกระปือ-19) ข้าวหมากบวม ข้าวก่า (บ้านกันดอน-3) ข้าวขาว (บ้านนาซอน-1) ข้าวเจ้า(อัตตะปือ-1) ข้าวปาน ข้าวแก่นคู่ (น) (โนนหนองหว้า-8) มีค่า boostrap หรือค่าที่เชื่อได้ว่าตัวอย่างดังกล่าวอยู่ในกลุ่มเดียวกันมีค่าถึง 56 เปอร์เซ็นต์ ข้าวแม่ (บ้านกันดอน) (แตกกอดี) ข้าวอีเก๊าะขาว มีค่า boostrap หรือค่าที่เชื่อได้ว่าตัวอย่างดังกล่าวอยู่ในกลุ่มเดียวกันมีค่าถึง 64 เปอร์เซ็นต์ และข้าวก่า (บ้านหนองเวียน) ข้าวหมากแดง (อัตตะปือ-2) ข้าวอีเตี้ย (บ้านกะปือ-19) มีค่า boostrap หรือค่าที่เชื่อได้ว่าตัวอย่างดังกล่าวอยู่ในกลุ่มเดียวกันมีค่าถึง 89 เปอร์เซ็นต์
บทคัดย่อ (EN): The traditional rice (Oryza sativa) of Sekong District, Lao People’s Democratic Republic is cultivated in upland. In this study, the 23 rice samples are collected from Tha Teng and Lamam district. The result of phylogenetic which developed from ITS DNA sequencing of Lee et. al. 2002 (ITS1 GTCCACTGAACC TTATCATTTAG and ITS4 TCCTCCGCTTATTGATATGC) reveals that there are several subgroups. For example, the boostrap value of subgroup which consist of Khao Tae, Khao Khom Ban Ka Boo, Khao Mark Boom, Khao Khom Bankandon -3, Khao Khao Ban Nachon-1, Khao Chao Attapeu-1, Khao Pan, Khaokankoo, are 56 percent. The boostrap value of subgroup which consist of Khao Mae Bankandon and Khao Aee Kao Khao, subgroup which consist of Khao Kom, Khao Mark Dang, Khao Aee Thaee are 64 percent and 89 percent, respectively.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์ข้าวไร่พื้นเมืองในแขวงเซกองประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
30 กันยายน 2558
ความหลากหลายทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาของพันธุ์ข้าวไร่พื้นเมืองในแขวงเซกอง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การศึกษาความต้านทานต่อโรคไหม้ของข้าวไร่พื้นเมือง 50 พันธุ์ การประเมินความทนทานต่อสภาพแล้งต้นฤดูปลูกของเชื้อพันธุกรรมข้าวไร่พันธุ์พื้นเมือง ปฏิกริยาสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมและสภาพแวดล้อมของลักษณะผลผลิตเมล็ดในข้าวไร่พันธุ์พื้นเมืองสีดำของไทย การคัดเลือกพันธุ์และการผลิตข้าวไร่พื้นเมืองโดยเกษตรกรมีส่วนร่วมเพื่อการบริโภคในท้องถิ่น โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวไร่ ความเข้มข้นของฟอสฟอรัสในเมล็ดข้าวป่าสามัญ ข้าวพันธุ์ปลูก และข้าวไร่ การประเมินและคัดเลือกพันธุ์ข้าวไร่พื้นเมืองประจำเผ่าบนพื้นที่สูง การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากระบบการปลูกข้าวไร่พันธุ์พื้นเมืองในจังหวัดนครราชสีมา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก