สืบค้นงานวิจัย
รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาการทำน้ำหอมจากดอกไม้หอม
ถนอมนวล พรหมบุญ - มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง: รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาการทำน้ำหอมจากดอกไม้หอม
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ถนอมนวล พรหมบุญ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ์. สำนักวิจัยและบริการวิชาการ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): 540.724
บทคัดย่อ: การศึกษาการทำน้ำหอมจากดอกไม้หอมมี 3 ชนิด คือ ดอกกุหลาบมอญ ดอกลั่นทม และดอกพุดซ้อน จะได้กลิ่นน้ำมันหอมระเหยใกล้เคียงกับกลิ่นของดอกไม้ธรรมชาติ แต่วิธีการสกัด แยกน้ำมันหอมระเหยจากดอกกุหลาบ โดยวิธีการกลั่นด้วยไอน้ำจะได้กลิ่นกุหลาบมอญได้ดีกว่าการสกัดด้วยตัวทำละลาย แต่ปริมาณที่ได้น้อยกว่า โดยวิธีการสกัดด้วยตัวทำละลาย ได้น้ำมันหอมระเหย 0.48% (ปริมาตร / น้ำหนัก) ส่วนวิธีการสกัดแยกด้วยการกลั่นด้วยไอน้ำ จะได้ปริมาณ 0.37% (ปริมาตร / น้ำหนัก) การเปรียบเทียบน้ำมันหอมระเหยจากดอกไม้ ทั้ง 3 ชนิด ซึ่งใช้การสกัดแยกวิธีต่าง ๆ นั้น พบว่าปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่ได้จากดอกพุดซ้อนจะมากที่สุด คือ 0.86% (ปริมาตร / น้ำหนัก) รองลงมาคือ ดอกลั่นทม 0.51% (ปริมาตร / น้ำหนัก) และดอกกุหลาบมอญ วิธีการสกัดแยกด้วยตัวทำละลาย 0.48% (ปริมาตร / น้ำหนัก) และวิธีการกลั่นด้วยไอน้ำ 0.37% (ปริมาตร / น้ำหนัก) Study on making essentail oil from 3 sweet Thai fragrant fragrant flower : Rose , Lanthom and Phutsorn. The aroma of those flowers is like natural flower, but the water distillate extraction method of rose is better than solvent extraction method. However, the quantity of the solvent entraction method is better
บทคัดย่อ (EN): it has 0.48% (v / w) and 0.37% (v / w) consequently. The comparative quantity of essential oil from 3 flowers by using various methods is found that the quantity of essential oil from Phut Sorn is the most 0.86% (v / w), Lunthom is 0.51% (v / w), Rose by solvent extraction is 0.48 (v / w) and Rose by distillation is 0.37% (v / w).
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2543
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2543
เอกสารแนบ: http://dcms.thailis.or.th/dcms/dccheck.php?Int_code=35&RecId=17&obj_id=86
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: it has 0.48% (v / w) and 0.37% (v / w) consequently. The comparative quantity of essential oil from 3 flowers by using various methods is found that the quantity of essential oil from Phut Sorn is the most 0.86% (v / w), Lunthom is 0.51% (v / w), Rose by solvent extraction is 0.48 (v / w) and Rose by distillation is 0.37% (v / w).
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาการทำน้ำหอมจากดอกไม้หอม
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
2543
เอกสารแนบ 1
รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาผลกระทบจากการทำเกษตรกรรมโดยใช้สารเคมีในระบบนิเวศเกษตรกรรมในจังหวัดเพชรบูรณ์ รายงานการวิจัยเรื่อง การสกัดและแยกองค์ประกอบทางเคมีจากส่วนใบและกิ่งของต้นข่อยด่าน รายงานโครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการเก็บรักษาน้ำหอมระเหยในรูปสารอิมัลชัน รายงานการวิจัย เรื่องน้ำมันหอมระเหยจากได้ดอกหอม 3 ชนิดในประเทศไทย รายงานการวิจัยการศึกษาคุณภาพน้ำทางกายภาพ เคมี และชีวภาพในบริเวณพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช อพ.สธ. เขื่อนน้ำพุง จังหวัดสกลนคร การใช้ปลาเป็น Biomarker ในการติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านสารรบกวนระบบฮอร์โมนจากสารเคมีทางการเกษตรบางกลุ่ม : รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ รายงานผลการวิจัยเรื่อง การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและสัณฐานวิทยาของตัวอย่างไลเคนวงศ์ฟิสเซียซิอิ ที่รวบรวมได้จากแหล่งต่างๆในประเทศไทย รายงานผลการวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของสารเคมีต่อเชื้อสาเหตุโรคเพบรินของไหม Bombyx mori L. และสถานการณ์การระบาดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย รายงานการวิจัยเรื่องฤทธิ์ทางชีวภาพและน้ำมันหอมระเหยจากต้นกะลา สารเคมีจากใบมะกล่ำตาหนู : รายงานผลการวิจัย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก