สืบค้นงานวิจัย
การเพาะพันธ์ปูแสมเพื่อการอนุรักษ์ และศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินในพื้นที่ป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม
นฤชล ภัทราปัญญาวงศ์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การเพาะพันธ์ปูแสมเพื่อการอนุรักษ์ และศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินในพื้นที่ป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม
ชื่อเรื่อง (EN): Breeding the Mangrove Crabs for Conservation and Learning with the Potential to Change the Quality of the Soil in the Mangrove Area, Samutsongkram Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นฤชล ภัทราปัญญาวงศ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความหลากชนิด และความชุกชุมของปูแสม และปัจจัยสิ่งแวดล้อมในบริเวณป่าชายเลนคลองบางบ่อ โดยสำรวจและเก็บตัวอย่าง ทุก 2 เดือน ระหว่างเดือนมีนาคม 2559 ถึงมกราคม 2560 แบ่งพื้นที่ศึกษา ออกเป็น 3 บริเวณ ผลการศึกษาพบปูแสม ในวงศ์ Sesarmidae 4 ชนิด และวงศ์ Varunidae 1 ชนิด ปูแสมชนิด Perisesarma eumolpe และ Episesarma mederi เป็นชนิดเด่น ความชุกชุมของปูแสมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 79.47?48.36 ตัว/100 ตารางเมตร และมีต่ำสุด 58.70?66.90 ตัว/100 ตารางเมตร ความชุกชุมของปูแสมมีความสัมพันธ์กับความเค็มของดิน ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำในตะกอนดิน และลักษณะเนื้อดิน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ลักษณะเนื้อดินเป็นชนิดดินร่วนเหนียวปนทราย (sandy clay loam) และดินร่วนปนทราย (sandy loam)
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพาะพันธ์ปูแสมเพื่อการอนุรักษ์ และศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินในพื้นที่ป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2560
การติดตามการเปลี่ยนแปลงประชาคมปูแสม และคุณภาพสิ่งแวดล้อม ภายใต้มาตราการอนุรักษ์ในพื้นที่ป่าชายเลนบ้านบางบ่อ จังหวัดสมุทรสงคราม การปลูกยางพาราร่วมกับสมุนไพรและกาแฟพันธุ์อะราบิก้าที่มีศักยภาพในพื้นที่สูงเชิงอนุรักษ์ในสถานีวิจัยเพชรบูรณ์ การพัฒนาศักยภาพในการจัดเก็บรักษาน้ำเชื้อปลายี่สกไทยเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการอนุรักษ์ การพัฒนาศักยภาพในการจัดเก็บรักษาน้ำเชื้อปลายี่สกไทยเพื่อการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการอนุรักษ์ การขยายพันธุ์และความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชที่มีศักยภาพสำหรับงานอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ การเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่สูงศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่าจังหวัดพะเยา การเพิ่มศักยภาพการผลิตปลาดุกลำพันเพื่อการอนุรักษ์และการเพาะเลี้ยง เชิงพาณิชย์ การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและประเมินศักยภาพของไก่พื้นเมืองไทยในจังหวัดน่านเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ทรัพยากรหอยสองฝาของประเทศไทย: การประเมินศักยภาพของชนิดที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาสู่การเพาะเลี้ยงเชิงอนุรักษ์และเชิงพาณิชย์ การจัดทำแผนที่ศักยภาพพื้นที่ป่ากระจูดและการประเมินศักยภาพพลังงานจากกระจูดกรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดพัทลุง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก