สืบค้นงานวิจัย
ชีววิทยาของมดฮี้เพื่อการเพาะเลี้ยง
เผดิมศิลป์ รามศิริ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ชื่อเรื่อง: ชีววิทยาของมดฮี้เพื่อการเพาะเลี้ยง
ชื่อเรื่อง (EN): Biology of Crematogaster sp. for Rearing
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เผดิมศิลป์ รามศิริ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาชีววิทยาของมคฮี้เพื่อการเพาะเลี้ยงในพื้นที่จังหวัดน่าน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2552 ถึงเดือนมิถุนายน 2554 พบว่า มคดี้มีแหล่งอาศัยอยู่ในที่ราบจนถึงที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 1.0ร0 เมตร อาศัยตามป่าโปร่งมีแหล่งน้ำใกล้แหล่งอาศัยโดยสร้างรังอยู่ที่สูงบนยอดไม้ที่มีชีวิตสูงจากผิวดิน เฉลี่ย 3.81*1.19 เมตร รังมดชี้มีความกว้างเฉลี่ย 18.94:4.72 เซนติเมตร ความยาวเฉลี่ย 2462-4.02 เซนติมตร เส้นรอบวงเฉถี่ย 61.44+11.28 เซนติเมตร ศัตรูมด ได้แก่ มคแคงและตัวอ่อนแมลงช้าง ตัวอ่อนมดฮี้ถูกคนในท้องถิ่นนำมาประกอบเป็นอาหาร มีการล่อตัวอ่อนมดฮี้ในเดือนกุมภาพันธ์- เมษายน ปริมาณตัวอ่อนมดฮี้ต่อรังเฉลี่ย 302.3 -72.84 กรัม การศึกมาชีววิทยาของมค พบว่าตัวเต็ม วัยมี 2 วรรณะคือ วรรณะกษัตริย์ ซึ่งพบในฤดูแพร่พันธุ์เดือนกุมภาพันธุ์เมมายน ได้แก่ ราชามคหรือ มคเพศผู้ มีปีก 2 คู่ ขนาดลำตัวยาวเฉถี่ย 3.85:0.28 มิลลิเมตร และนางพญามค มีปีก 2 คู่ ขนาคลำตัว ขาวเฉลี่ย 8.28:0.29 มิลติมตร วรรณะมดงาน เป็นมคเพศเมียที่เป็นหมัน มีขนาคเล็กกว่านางพญา มด ไม่มีปีก มดงาน 2 มีขนาด คือ มดงานขนาดใหญ่หรือมดทหาร และมดงานขนาดเล็ก มดงานมี ขนาดลำตัวยาวเฉลี่ย 3,59 + 0.44 มิลลิเมตร มดฮี้วางไข่ไว้ตามช่องว่างในรัง ไข่มีขนาดเล็กรูปร่าง กลมสีขาวขุ่น หนอนมคงานมีสีขาว ยาวเฉลี่ย 2.84-0.18 มิลลิเมตร หนอนมดเพศผู้มีขนาดยาวเฉลี่ย 3.02*0.14 มิลลิเมตรและหนอนมดนางพญามีขนาดยาวเฉลี่ย 4.91:0.21 มิลลิเมตร ดักแด้มคฮี้เป็น แบบ cxarate มีสีขาว ขนาดยาวเฉลี่ย 3.53*0.51 มิลลิเมตร ดักแด้เพศผู้ มีขนาคยาวเฉลี่ย 380-0.27 มิลลิเมตร และดักแด้มดนางพญา มีขนาคยาวเฉลี่ย 7.49:0.43 มิลลิเมตร การศึกษาแนวทางการ เพาะเลี้ยงมดฮี้ การโยกย้ายรังให้สร้างแหล่งอาศัยใหม่ พบว่า เดือนชันวาคมดีที่สุด ปล่อยติด 40 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเคือนมิถุนายน ปล่อยติด 25 เปอร์เซ็นต์ และในเดือนมีนาคม ปล่อย ติดน้อยที่สุด 10 เปอร์เซ็นต์
บทคัดย่อ (EN): Biology of Crematogaster sp. for Rearing was studied in an area of Nan province from October 2009 to June 201 1. It was found that Crematogaster sp. can be found both in flat land and high land which is sometimes up to 1050 meter above sea level. The common place where it lives is in dry forest which is casy to access to water resources. Its nest was built connecting to the brances in living tall tree. The height from the ground to its nest is average 3.81#1.19 meter. The size of nest is 18.94+ 4.72 wide, 24.62 t4.02 long and 61.44:1 1,28 in diameter. It s main enemy is red ant (Oecophylla smaragdina) and the larva of Chysop sp. The local people gather its egg and larva for cooking. In some area where Crematogaster sp. is plenty, this activity can be done in commercial scale. This gathering period is in February to April. The 302.31t 0.28 gram of egg and larva per nest is commonly found. In term of biology aspect, it was found that there are 2 castes for Crematogaster sp., first is Reproductive caste. This caste was found in reproductive season which was usually in February to April. It is a King or male ant which is 3.85+0.28 mm in body length and has 2 pair of wings. Other is Queen which also has 2 pair of wings but is bigger which is 8.28#0.29 mm in body length. The second caste is Worker, this caste is actually is sterile female ant. It is quite smaller than its counterpart, a female queen and has no wing. It is 3.59 t0.44 mm in body length. There are 2 different type of worker in worker caste, one is bigger worker or guard and a smaller one. Crematogaster sp lay egg in a space in its nest. Its egg has a round shape with white in color. Worker larva is 2.84-0.18 mm in length, Male or King larva is 3.02t0.14 mm and Qucen larva is 4.91 t0.2I mm respectively. Its pupa is exarate type which is also white , for workerpupa is 3.53t.0. 5Imm in length, male pupa is 3.80t0.27 mm, queen pupa is 7.49 0.43 mm respectively. The possibility study to relocating Crematogaster sps nest for rearing found that relocating in December has the most successful rate with 40 percentage, relocating in June with 25 percentage successful and relocating in March has just 10 percentage of successful.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-06-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชีววิทยาของมดฮี้เพื่อการเพาะเลี้ยง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
30 มิถุนายน 2554
2553A17002020 ชีววิทยาของมดฮี้เพื่อการเพาะเลี้ยง การพัฒนาเทคนิคการเพาะเลี้ยงหอยตลับ (Meretrix meretrix) เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการศึกษาชีววิทยาบางประการที่เกี่ยวข้อง การเพาะเลี้ยงกบจาน วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลานวลจันทร์น้ำจืด ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล การเพาะเลี้ยงปูม้าในบ่อดินแบบครบวงจร โครงการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาว การพัฒนาการเพาะเลี้ยงกว่างชนเชิงพาณิชย์ การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ป่าเพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมอย่างยั่งยืน การพัฒนาการเพาะเลี้ยงกว่างชนเชิงพาณิชย์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก