สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากส่วนเหลือใช้และบกพร่องจากการปลูกของต้นและผลเผือกหอมชุมชนอำเภอบ้านหมอจังหวัดสระบุรีเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์
เจตนิพัทธ์ บุณยสวัสดิ์, จุฑามาศ พีรพัชระ, อินท์ธีมา หิรัญอัครวงศ์, สุวรรณ ประทีป ณ ถลาง - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากส่วนเหลือใช้และบกพร่องจากการปลูกของต้นและผลเผือกหอมชุมชนอำเภอบ้านหมอจังหวัดสระบุรีเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Commercial Product from Taro Plants and Fruits Residue by Ban Moh Community Saraburi Province
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากเผือกปาดและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของ ผลิตภัณฑ์อาหารจากเผือกปาดของชุมชนต าบลโคกใหญ่ หรเทพ และตลาดน้อย และถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ท าผลิตภัณฑ์อาหารจากเผือกเชิงพาณิชย์และการท าแผนธุรกิจ โดยพัฒนาสูตรและกรรมวิธีการผลิตผลิตภัณฑ์ อาหาร 4 รายการ คือ เมี่ยงเผือก เผือกรอบทรงเครื่อง เม็ดขนุนเผือก ขนมเปี๊ยะเผือก ทดสอบการยอมรับของ ผู้บริโภคจ านวน 100 คน ผลการทดสอบพบว่าเผือกปรุงรสหมี่กรอบ Mee-001 Mee-002 และ Mee-003 ได้รับคะแนนความชอบด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ และความชอบรวมไม่แตกต่างกัน (p>0.05) อย่างไรก็ตามคะแนนการยอบรับด้านเนื้อสัมผัสตัวอย่างเผือกปรุงรสหมี่กรอบ Mee-003 ได้รับคะแนนสูงกว่า Mee-001 Meang-002 (p<0.05) ส าหรับการประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมี ความพึงพอใจมากที่สุด ในด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ (เช่น อัธยาศัยดี ยิ้มแย้มแจ่มใส มีน้ าใจในการให้บริการ ฯลฯ) และด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ (เช่น การประกาศรับสมัคร การติดต่อเชิญอบรม การ ประสานงานและให้ข้อมูล การดูแล และการท างานอย่างมีขั้นตอน ฯลฯ) ค่าเฉลี่ย 4.69 และ 4.51 ตามล าดับ ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก (สถานที่อบรม อาหาร เครื่องโสตฯ เอกสารอบรม ฯลฯ) พบว่า มีความพึงพอใจใน ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.47 ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร ผู้ประเมินมีความพึงพอใจมากที่สุดในด้านความ เหมาะสมของวิทยากร (ความรู้ความสามารถ และเทคนิคการสอน) ความคุ้มค่าเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย (ประโยชน์ที่ได้รับมากกว่าเวลาและค่าใช้จ่ายที่เสียไป) ความเหมาะสมของเนื้อหาหลักสูตร และการน าความรู้ ไปใช้ประโยชน์ (ใช้ประกอบอาชีพ หรือ ใช้ในชีวิตประจ าวัน) ค่าเฉลี่ย 4.91 4.81 4.67 และ 4.64 ตามล าดับ ผู้ ประเมินมีความพึงพอใจมากในช่วงเวลาการอบรม (วัน/เดือน/ฤดูที่อบรม) ระยะเวลาการอบรม (จ านวนวัน) และการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝึกอบรมนี้ก่อนการฝึกอบรม ค่าเฉลี่ย 4.43 4.41 และ 4.38 ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า ผู้ประเมินมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 หรือ ร้อยละ 90.60
บทคัดย่อ (EN): This research aims to develop food products from cut taro and packaging of food products made from cut taro for Tambon Khokyai, Horathep and Taladnoi communities, as well as to transfer technology in producing commercial food products from taro and to prepare market plan. Four recipes and procedures for making food products were developed; namely, Miang Phuek, Seasoned Crispy Taro, Med Khanoon Phuek, and Khanom Pia Phuek. All food producted were tested by 100 consumers. Results of the test showed that Mee-001, Mee-002 and Mee-003 formulas of Mee Krob Seasoned Taro gained no significant different scores for appearance, color, oder, taste, and overall likeness (p>0.05). However, regarding acceptance score for texture, Mee-003 formula gained more score than Mee-001 and Mee-002 (p<0.05). In terms of satisfaction for the training, participants were satisfied most with service staff (e.g. generosity, friendliness, and service-mindedness) and in servicing process (e.g. advertisement, invitation, coordination, provision of information, caretaking, and systematic procedure) at means value of 4.69 and 4.51, respectively. Facilities (place, food, audio-vision equipment, handouts, etc.) were found to be highly satisfied at a mean value of 4.47. For information to improve the training course, participants were satisfied most with suitability of trainers (knowledge, skills, and teaching techniques), cost-effectiveness when compared to time spent and expenses (gained benefit was more than time spent and expenses), appropriateness of training course, and utilization of acquired knowledge (use for occupation or use in daily life) at mean values of 4.91, 4.81 4.67 and 4.64, respectively. Participants were also highly satisfied with training period (date, month, and season), training duration (numbers of day) and having existing knowledge before training at mean values of 4.43, 4.41 and 4.38, respectively. Finally, for overall view, participants were satisfied most at a mean value of 4.53 or 90.60 percent.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากส่วนเหลือใช้และบกพร่องจากการปลูกของต้นและผลเผือกหอมชุมชนอำเภอบ้านหมอจังหวัดสระบุรีเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
30 กันยายน 2557
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปดอกเก๊กฮวยบนพื้นที่สูงโครงการหลวงสะโง๊ะเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปดอกเก๊กฮวยบนพื้นที่สูงโครงการหลวงสะโง๊ะเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเปลือกนอกของก้านเผือกเหลือใช้ในกลุ่มผู้ทำนาเผือกอำเภอบ้านหมอจังหวัดสระบุรีเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาคุณภาพเชียงดา เพื่อใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพต้านอนุมูลอิสระเชิงพาณิชย์ การศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนปาล์มสาคูสู่ ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ 2555A17001009 การพัฒนาคุณภาพเชียงดา เพื่อใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพต้านอนุมูลอิสระเชิงพาณิชย์ โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์จากผลงานวิจัยเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ การพัฒนาคุณภาพเชียงดา (Gymnema inodorum(Lour.) Decne.) เพื่อใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต้านอนุมูลอิสระเชิงพาณิชย์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวก่ำเพิ่มมูลค่าเพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โครงการประเมินระดับความพร้อมของเทคโนโลยีที่เกิดจากผลิตภัณฑ์บนฐานความหลากหลายทางชีวภาพในการพัฒนาไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก