สืบค้นงานวิจัย
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาหลังเขียว(Sardinella gibbosa(Bleeker, 1849)) ในอ่าวไทย
ธเนศ ศรีถกล, กมลรัตน์ พุทธรักษา, ปิยวรรณ หัสดี, นพรัตน์ นาสุชล - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาหลังเขียว(Sardinella gibbosa(Bleeker, 1849)) ในอ่าวไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Reproductive Biology of Goldstripe Sardinella (Sardinella gibbosa (Bleeker, 1849)) in the Gulf of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: เก็บตัวอย?างปลาหลังเขียวจากท?าเทียบเรือจังหวัดชายฝ??งทะเลอ?าวไทยตั้งแต?จังหวัดตราดถึง จังหวัดสงขลาจากเครื่องมืออวนลากคู?อวนล?อมจับป??นไฟ และอวนล?อมซั้ง ในเดือนมกราคมถึงธันวาคม ป? 2550 จํานวน 7,373 ตัวอย?างความยาวตลอดตัวระหว?าง 4.20-20.60 เซนติเมตรและน้ําหนักตัวระหว?าง 6.98-84.00 กรัม เป?นเพศผู?จํานวน 3,098 ตัวอย?างความยาวตลอดตัว 8.00-19.70 เซนติเมตรและน้ําหนักตัว 6.98-72.00 กรัม เพศเมีย 3,346 ตัวอย?าง ความยาวตลอดตัว 9.00-20.60 เซนติเมตร และ น้ําหนักตัว 9.48-84.00 กรัม และไม?แยกเพศ 929 ตัวอย?างศึกษาความสัมพันธ?ระหว?างความยาวตลอดตัวกับน้ําหนักตัว ของปลาทั้งหมดได?สมการความสัมพันธ? W = 0.0110TL2.9365 (R2 = 0.9106) เพศผู?สมการความสัมพันธ? W = 0.0109TL2.9409 (R2 = 0.9049) และเพศเมียสมการความสัมพันธ? W = 0.0098TL2.9848 (R2 = 0.9064) อัตราส?วนเพศผู?ต?อเพศเมียเท?ากับ 1:1.08 (P<0.05) โดยเพศเมียมีขนาดความยาวตลอดตัวเฉลี่ยแรกเริ่ม สืบพันธุ?เท?ากับ 10.35 เซนติเมตรแหล?งวางไข?อยู?ทั่วไปตลอดแนวชายฝ??งบริเวณเกาะช?างและเกาะกูดจังหวัด ตราด ชายฝ??งหน?าจังหวัดระยอง ชลบุรีเพชรบุรีประจวบคีรีขันธ?บริเวณเหนือเกาะเต?าลงไปทางใต?ด?านทิศ ตะวันออกของเกาะพงัน และเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร?ธานีจนถึงบริเวณชายฝ??งจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา วางไข?ได?ตลอดทั้งป?และพบมากในเดือนมีนาคมถึงธันวาคม ความดกของไข?เฉลี่ย 24,404?8,531 ฟองและมีสมการความสัมพันธ?ระหว?างความดกไข?กับความยาวตลอดตัว F = 201.82TL1.7203
บทคัดย่อ (EN): The data produced from the sampling of the Goldstripe Sardinella (Sardinella gibbosa) from Trad to Songkhla Province in the Gulf of Thailand. The data was collected from pair trawls and purse seines from January to December 2007. In all 7,373 specimens have a total length ranging from 4.20-20.60 cm and a body weight ranging from 6.98-84.00 g respectively. It was comprised of males 3,098 trials (a total length ranging from 8.00-19.70 cm and a body weight ranging from 6.98-72.00 g), while the females 3,346 trials (a total length ranging from 9.00-20.60 cm and a body weight ranging from 9.48-84.00 g) and with a total of 929 unidentified sex trials inclusively. The purpose was to study the length and weight relationship of total fish, male and female. The total fish relationship was W = 0.0110TL2.9365 (R2 = 0.9106). The male relationship was W = 0.0109TL2.9409 (R2 = 0.9049) and the female relationship was W = 0.0098TL2.9848 (R2 = 0.9064). The sex ratio of male to female was 1:1.08 (P<0.05). The average size of first mature of sampling was 10.35 cm. The spawning ground was along the coast line as it surrounds Koh Chang and Koh Kood, Trad Province, the coast line in front of Rayong, Chonburi, Phetchaburi, Prachuap Khirikhan Provinces, north of Koh Tao, Surat Thani Province also encircling the eastern part of Koh Phangan and Koh Samui, Surat Thani Province and a long coastline of Nakhon Srithamarat and Songkhla Province. Spawning season ran throughout the year while peaking during March thru December. Average of fecundity was 24,404?8,531 with equation relations of F = 201.82TL1.7203.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาหลังเขียว(Sardinella gibbosa(Bleeker, 1849)) ในอ่าวไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2551
กรมประมง
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาหลังเขียวชนิด Sardinella gibbosa (Bleeker, 1849) ในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของหมึกสายขาว (Amphioctopus aegina (Gray, 1849)) บริเวณอ่าวไทยตอนใน ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของหมึกกล้วยชนิด Photololigo duvaucelii (d’Orbigny, 1835) และ P. chinensis (Gray, 1849) บริเวณอ่าวไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลากะตักในอ่าวไทย การประมงหมึกสายโดยเปลือกหอยจุกพราหมณ์ในอ่าวไทย การประมงหมึกกระดองจากเครื่องมืออวนลากพาณิชย์ในอ่าวไทย การศึกษาอัตราการระบายน้ำของแม่น้ำหลัก 3 สาย ลงสู่อ่าวไทย ภายใต้อิทธิพลของน้าขึ้น-น้ำลง ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทรายแดงชนิด Nemipterus hexodon และ N. peronii ในอ่าวไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรหมึกกล้วยชนิด Photololigo chinensis และ P. duvaucelii ในอ่าวไทย ชีววิทยาสืบพันธุ์ของปลาทูในบริเวณอ่าวไทยตอนใน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก