สืบค้นงานวิจัย
สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน
จิตจรูญ ตันติวาลา - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน
ชื่อเรื่อง (EN): Status of Fisheries Resources along the Continental shelf in the Andaman Sea
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จิตจรูญ ตันติวาลา
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การสำรวจทรัพยากรสัตว์น้ำด้วยเครื่องมือเบ็ดราวปลาทูน่าบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน จำนวน 4 เที่ยวเรือ ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ถึง เดือนเมษายน พ.ศ. 2551 สำรวจพบสัตว์น้ำทั้งหมด 15 วงศ์ 19 สกุล 25 ชนิด และไม่สามารถแยกวงศ์และชนิดได้อีก 1 ชนิด จำนวน 369 ตัว แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มปลาทูน่า กลุ่มปลากะโทงแทง กลุ่มปลาฉลามและปลากระเบน และกลุ่มปลาอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 3.25 14.09 62.33 และ 20.33 โดยจำนวนตัวตามลำดับ ปริมาณการจับรวมทั้งหมดเท่ากับ 7,985 กิโลกรัม อัตราการติดเบ็ดของกลุ่มปลาทูน่า กลุ่มปลา กะโทงแทง กลุ่มปลาฉลามและปลากระเบน และกลุ่มปลาอื่นๆ เท่ากับ 0.58 2.52 11.17 และ 3.64 ตัว/เบ็ด 1,000 ตัว ตามลำดับ โดยกลุ่มปลาฉลามและปลากระเบนพบมากที่สุด อัตราการติดเบ็ดของสัตว์น้ำส่วนใหญ่ พบสูงในช่วงเปลี่ยนจากฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือไปเป็นฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (เดือนเมษายน) บริเวณแนวน้ำลึกมากกว่า 1,000 เมตร โดยกลุ่มปลากะโทงแทง พบมากจากการทำประมงเวลากลางคืน ส่วนกลุ่มปลาฉลาม และปลากระเบนพบมากจากการทำประมงเวลากลางวัน ปลาทูน่าครีบเหลืองที่พบมีความยาวส้อมหางอยู่ในช่วง 95.00-145.00 เซนติเมตร ความยาวเฉลี่ย 119.67 ? 13.12 เซนติเมตร สมการความสัมพันธ์ระหว่างความยาวกับน้ำหนัก W = 0.00001201FL3.0644 ปลากะโทงแทงดาบมีขนาดความยาวตลอดตัวอยู่ในช่วง 140.00-270.00 เซนติเมตร ความยาวเฉลี่ยเท่ากับ 183.91+34.50 เซนติเมตร สมการความสัมพันธ์ระหว่างความยาวกับน้ำหนัก W = 0.00000025L3.4447 และปลาฉลามหางยาวขนาดความยาวตลอดตัวอยู่ในช่วง 130.00-310.00 เซนติเมตร ความยาวเฉลี่ยเท่ากับ 253.32+31.08 เซนติเมตร สมการความสัมพันธ์ระหว่างความยาวกับน้ำหนัก W = 0.00007244L2.3919 การสำรวจทรัพยากรสัตว์น้าด้วยเครื่องมือเบ็ดราวหน้าดินแนวตั้งบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามันได้ดาเนินการสำรวจรวมจานวน 4 เที่ยวเรือ ระหว่าง พ.ศ. 2549 - 2551 จานวน 23 สถานี ครอบคลุมพื้นที่ระหว่างละติจูด 06? 36.00 - 09? 26.00 เหนือ และลองจิจูด 097? 20.00 - 098? 10.00 ตะวันออก ที่ระดับความลึกน้าระหว่าง 75-190 เมตร พบสัตว์น้าที่จับได้รวม 41 วงศ์ 91 ชนิด สามารถจับสัตว์น้าได้ทั้งหมด 3,391 ตัว น้าหนักรวม 3,048.16 กิโลกรัม แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลาฉลามและปลากระเบน ปลากะรัง ปลากะพง ปลาหมูสี และสัตว์น้าอื่นๆ คิดเป็นร้อยละโดยจานวนตัวเท่ากับ 52.88 6.52 9.02 6.75 และ 24.83 ร้อยละโดยน้าหนักเท่ากับ 56.84 11.42 15.38 4.65 และ 11.71 ตามลาดับ มีอัตราการติดเบ็ดโดยจานวนตัวเป็น 5.23 0.66 0.89 0.67 และ 2.44 ตัว/เบ็ด 100 ตัว อัตราการจับโดยน้าหนักเป็น 5.05 1.01 1.37 0.41 และ 1.04 กิโลกรัม/เบ็ด 100 ตัวตามลาดับ อัตราการติดเบ็ดเฉลี่ยโดยจานวนตัวเท่ากับ 9.88 ตัว/เบ็ด 100 ตัว โดยมีอัตราการติดเบ็ดสูงสุดเท่ากับ 21.73 ตัว/เบ็ด 100 ตัวที่สถานี ST09 ซึ่งอยู่ห่างจากเกาะแก้วน้อยทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 40 ไมล์ทะเล กลุ่มปลาฉลามและปลากระเบนมีความชุกชุมและการแพร่กระจายในสถานี ST09 ST03 และ ST01 มีอัตราการติดเบ็ดเท่ากับ 19.59 11.81 และ 9.35 ตัว/เบ็ด 100 ตัว ตามลาดับ กลุ่มปลากะรัง มีความชุกชุมและการแพร่กระจายในสถานี ST23 ST04 ST03 มีอัตราการติดเบ็ดเท่ากับ 1.90 1.71 และ 1.65 ตัว/เบ็ด 100 ตัว ตามลาดับ กลุ่มปลากะพงพบว่ามีความชุกชุมและการแพร่กระจายในสถานี ST08 ST22 และ ST02 มีอัตราการติดเบ็ดเท่ากับ 2.92 2.92 และ 2.14 ตัว/เบ็ด 100 ตัว ตามลาดับ ส่วนกลุ่มปลาหมูสี พบว่ามีความชุกชุมและการแพร่กระจายในสถานี ST08 ST19 และ ST18 มีอัตราการติดเบ็ดเท่ากับ 2.71 2.70 และ 2.68 ตัว/เบ็ด 100 ตัว ตามลาดับ และกลุ่มสัตว์น้าอื่นๆ พบว่ามีความชุกชุมและการแพร่กระจายในสถานี ST23 ST19 และ ST03 มีอัตราการติดเบ็ดเท่ากับ 8.25 7.54 และ 6.32 ตัว/เบ็ด 100 ตัว ตามลาดับ ปลาเศรษฐกิจที่จับได้มากที่สุดคือ ปลากะพงเหลือง ปลากะพงทับทิมและปลากะรัง การสำรวจทรัพยากรสัตว์น้าหน้าดินโดยเครื่องมือลอบน้าลึก (Deep Sea Trap) บริเวณไหล่ทวีป ทะเลอันดามัน ระหว่างเดือนมกราคม 2549 ถึง มีนาคม 2551 รวมระยะเวลาประมาณ 2 ปี ทำการวางลอบจำนวน 34 ครั้ง ใน 20 สถานี ที่ระดับความลึกน้าระหว่าง 75-183 เมตร สามารถจับสัตว์น้าได้ปริมาณ 1,234.67 กก. ปริมาณเฉลี่ย 6.602 กก./ลอบ ครั้งที่ 12 สถานี St.10 จับสัตว์น้าได้ปริมาณมากที่สุด จำนวน 145.35 กก. ปริมาณที่จับได้เฉลี่ยจำนวน 18.169 กก./ลอบ ครั้งที่ 27 สถานี St.19 จับสัตว์น้าได้ปริมาณน้อยที่สุด จำนวน 0.12 กก. ปริมาณที่จับได้เฉลี่ยจำนวน 0.03 กก./ลอบ สัตว์น้าที่จับได้อย่างน้อยจำนวน 75 ชนิด ประกอบด้วย สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำนวน 28 ชนิด ปลากระดูกอ่อนจำนวน 9 ชนิด และปลากระดูกแข็งจำนวน 38 ชนิด สามารถแบ่งสัตว์น้าที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ได้เป็น 7 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลากะพง กลุ่มปลาเก๋า กลุ่มปลา ฉลาม กลุ่มกุ้งมังกร กลุ่มกั้งกระดาน กลุ่มหอยงวงช้าง และกลุ่มสัตว์น้าอื่นๆ ชนิดสัตว์น้าที่มีความสำคัญทาง เศรษฐกิจ ได้แก่ ปลากะพงเหลือง (Lipocheilus carnolabrum) เก๋า (Epinephelus magniscuttis) เก๋าแถบเฉียง (Epinephelus radiatus) กั้งกระดาน (Scyllarider haanii) กุ้งมังกร (Linuparus trigenus) กุ้งมังกร (Ibacus novemdentatus) และหอยงวงช้าง (Nautilus pompilius) พื ้นที่ที่มีความหลากหลายของสัตว์น้ามากที่สุดอยู่ที่บริเวณการวางลอบครั้งที่ 2 โดยในการวาง ลอบครั้งที่ 10 มีความหลากหลายของสัตว์น้าน้อยที่สุด ปัจจัยที่มีผลต่อชนิดและปริมาณการจับสัตว์น้าด้วย ลอบน้าลึก ได้แก่ ลักษณะความขรุขระและความชันของพื้นท้องทะเล และความลึกของน้า ทำให้ได้สัตว์น้าที่มี ความสำคัญทางเศรษฐกิจลักษณะเฉพาะชนิด สำหรับแหล่งทำการประมงบริเวณไหล่ทวีปทะเลอันดามันที่ ระดับความลึกดังกล่าวยังเป็นแหล่งทำการประมงทะเลลอบน้าลึกได้ดี และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ความเค็ม และ ความเป็นกรด-ด่างของน้ำทะเลในระดับผิวน้ำ และตามระดับความลึก บริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน ระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2549-เมษายน พ.ศ. 2551 เก็บข้อมูลโดยเรือสำรวจประมงจุฬาภรณ์ และเรือสำรวจประมง M.V.SEAFDEC 2 รวม 79 ครั้ง ผลการสำรวจพบอุณหภูมิในระดับผิวน้ำในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2550 มีค่าต่ำกว่าปกติ คือ 27.06-28.54 องศาเซลเซียส ในขณะที่เดือนเดียวกันของปี 2549 มีค่า 28.19-29.23 องศาเซลเซียส โดยทั่วไปในช่วงของเดือนธันวาคม-เมษายน ความเค็มมีค่าอยู่ระหว่าง 31-33 psu และปริมาณออกซิเจน ที่ละลายในน้ำ มีค่าอยู่ระหว่าง 3.4-6.5 มิลลิลิตร/ลิตร ส่วนความเป็นกรด-ด่างมีค่าอยู่ระหว่าง 8.5-8.8 และพบจุดเริ่มต้นของชั้นเทอร์โมไคลน์ตื้นสุด 15 เมตร และลึกสุด 92 เมตร ในช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ ชั้นเทอร์โมไคลน์มักอยู่ลึกและมีความกว้างมากกว่าในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน จุดเริ่มต้นของชั้นออกซิไคลน์ ในบริเวณที่ทำการสำรวจส่วนมากพบอยู่ที่ระดับความลึก 25-60 เมตร ช่วงเดือนธันวาคม 2549-กุมภาพันธ์ 2550 พบชั้นออกซีไคลน์มีความบางมากที่สุด คือ 25-70 เมตร ส่วนปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำในชั้น ของออกซิไคลน์พบค่าต่ำสุดในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน 2551 โดยมีปริมาณเพียง 0.77-3.96 มิลลิลิตร/ ลิตร ค่าความเค็มในทะเลอันดามันโดยทั่วไปพบว่าเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงที่ระดับความลึก 20-60 เมตร โดยมี ค่าระหว่าง 32-33 psu ส่วนความเป็นกรด-ด่างของน้ำทะเลมีความแตกต่างกันน้อยมากพบอยู่ในช่วง 8.4-8.7 ชั้นมวลน้ำผสมจากผิวน้ำเดือนธันวาคม 2549- เมษายน 2550 มีความบางมากที่สุดของการ สำรวจในครั้งนี้ และพบลักษณะของน้ำผุด (upwelling) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2550 ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ความเค็ม และ ความเป็นกรด-ด่างที่ผิวน้ำทะเลและตามระดับความลึกด้วยเครื่องวัดคุณภาพน้ำ (CTD) ในแหล่งประมงบริเวณไหล่ ทวีปทะเลอันดามัน ระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2549-เมษายน พ.ศ. 2551 โดยเรือสำรวจประมงจุฬาภรณ์ และเรือสำรวจประมง M.V.SEAFDEC 2 รวม 79 ครั้ง ผลการศึกษาพบว่าอุณหภูมิที่ผิวน้ำทะเลอยู(ในช่วง 27.06-30.91 องศาเซลเซียส โดยต-นปJ พ.ศ. 2550 อุณหภูมิต่ำโดยเฉพาะเดือนมกราคม มีค่าอยู่ในช่วง 27.06-27.90 องศาเซลเซียส ปริมาณออกซิเจนที่ ละลายในน้ำที่ผิวน้ำทะเลพบอยู่ระหว่าง 3.4-6.0 มิลลิลิตร/ลิตร ความเค็มที่ผิวน้ำทะเลมีค่าอยู่ระหว่าง 31-33 psu โดยพบค่าความเค็มต่ำในเดือนธันวาคม (31-32 psu) ส่วนความเป็นกรด-ด่างที่ผิวน้ำทะเลมีความแตกต่างกันมากมีค่าอยู่ระหว่าง 8.5-8.8 ช่วงเทอร์โมไคลน>ค่อนข้างลึกในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 โดยมีจุดเริ่มต-นที่ 50-62-เมตร อุณหภูมิ 27.84-28.21-องศาเซลเซียส และค่อนข้างตื้นในเดือน ธันวาคม-เมษายน พ.ศ. 2550 โดยมีความลึกเริ่มต้น 22-57 เมตร อุณหภูมิ 24.22-29.71 องศาเซลเซียส และเดือนมีนาคม-เมษายน 2551 เทอร>โมไคลน>มีจุดเริ่มต้น 32-74 เมตร อุณหภูมิ 24.58-28.06 องศาเซลเซียส ช่วงออกซิไคลน>อยู่ระหว่างช่วงความลึก 25-185 เมตร และระดับอุณหภูมิ 24.22-29.71 องศาเซลเซียส ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำในชั้นออกซิไคลน>อยู่ระหว่าง 0.77-5.96 มิลลิลิตร/ลิตร ส(วนชั้นฮาโลไคลน> มีจุดเริ่มต้นที่ความลึกระหว่าง 20-60 เมตร โดยมีความเค็ม 31-33 psu ความเป็นกรด-ด่าง มีความเปลี่ยนแปลง ตามระดับความลึกใน พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2550 แตกต่างกันเล็กน้อย มวลน้ำผสมบริเวณใกล้ฝั่งช่วงเดือน กุมภาพันธ์ถึงมีนาคม พ.ศ. 2550 บางกว่าใน พ.ศ. 2551 ที่พบในช่วงเดือนเดียวกัน ปริมาณออกซิเจนละลายลงไปในชั้นน้ำได้ดีในช่วงปลายมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2549 ส(วนบริเวณไกลฝั่งมวลน้ำผสมค่อนข้างบางในช่วงเดือนธันวาคม 2549 ถึงมกราคม 2550 ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในชั้นน้ำน้อยลงในเดือนเมษายน 2550 และ ความเป็นกรด-ด่าง แยกชั้นตามระดับความลึกชัดเจน
บทคัดย่อ (EN): The surveys of fish resources along the continental shelf in the Andaman Sea by tuna longline in 4 cruises were undertaken from January 2006 to April 2008. A total of 369 fishes composed of 15 families, 19 genera, 25 species and 1 unidentified species are divided into 4 groups i.e. tuna, billfish, shark and ray and other fish which were 3.25, 14.09, 62.33 and 20.33 percentage of total number of fishes, respectively. A total catches were 7,985.00 kg of which the highest was shark and ray. The highest hook rate occurred in shark and ray was 11.17 individual/1,000 hooks while other fish was 3.64, billfish was 2.52 and tuna was 0.58 individual/ 1,000 hooks. The highest hook rate occurred during inter-monsoon (April) at a water depth deeper than 1,000 m. Billfish can be caught during the night time more than daytime whereas shark and ray can be caught during the day time more than the night time. Length of yellowfin tuna caught ranged from 95.00 to 145.00 cm FL with the average length was 119.67 ? 13.12 cm and length weight relationship is W = 0.00001201FL3.0644. Length of swordfish caught ranged from 140.00 to 270.00 cm with the average length was 183.91 ? 34.50 cm and length weight relationship is W = 0.00000025L3.4447 and length of pelagic thresher shark was from 130.00 to 310.00 cm with the average length was 253.32 ? 31.08 cm and length weight relationship is W = 0.00007244L2.3919 Marine resources survey by bottom vertical longline along the continental shelf in the Andaman Sea was carried out totally 4 cruises ( 23 stations) during 2006 – 2008, covering the area between latitude 06? 36.00 - 09? 26.00 N and longitude 097? 20.00 - 098? 10.00 E at covering at water depth between 75 - 190 metres. The fishes caught were identified to 41 families 91 species. The fishes were seperated by sharks and rays, Serranidae, Lutjanidae, Lethrinidae and others. The total catches were 3,391 individuals by number and 3,048.16 kilograms by weight. The fish composition were 52.88, 6.52, 9.02, 6.75, 24.83 percent by number and 56.84, 11.42, 15.38, 4.65, 11.71 percent by weight. The average hook rate by number was 9.88 individuals/100 hooks and the highest hook rate was 21.729 individuals /100 hooks at station ST09, about 40 nautical miles from south-west coast of Kaew Noi Island. The distribution of sharks and rays were remarkably abundant at ST09 ST03 ST01 with hook rate 19.59 11.81 9.35 individuals/100 hooks respectively. The distribution and abundance of Serranidae were 1.90 1.71 1.65 individuals/100 hooks at ST23 ST04 ST03 respectively. The distribution and abundance of Lutjanidae were 2.92 2.92 2.14 individuals/100 hooks at ST08 ST22 ST02 respectively. The distribution and abundance of Lethrinidae were 2.71 2.70 2.68 individuals/100 hooks at ST08 ST19 ST18 respectively. The distribution and abundance of others were 8.25 7.54 6.32 individuals/100 hooks at ST23 ST19 ST03 respectively. The economically important species were Lipocheilus cainorabrum, Etelis carbunculus and Epinephalus spp. Marine resources survey by bottom vertical longline along the continental shelf in the Andaman Sea was carried out totally 4 cruises ( 23 stations) during 2006 – 2008, covering the area between latitude 06? 36.00 - 09? 26.00 N and longitude 097? 20.00 - 098? 10.00 E at covering at water depth between 75 - 190 metres. The fishes caught were identified to 41 families 91 species. The fishes were seperated by sharks and rays, Serranidae, Lutjanidae, Lethrinidae and others. The total catches were 3,391 individuals by number and 3,048.16 kilograms by weight. The fish composition were 52.88, 6.52, 9.02, 6.75, 24.83 percent by number and 56.84, 11.42, 15.38, 4.65, 11.71 percent by weight. The average hook rate by number was 9.88 individuals/100 hooks and the highest hook rate was 21.729 individuals /100 hooks at station ST09, about 40 nautical miles from south-west coast of Kaew Noi Island. The distribution of sharks and rays were remarkably abundant at ST09 ST03 ST01 with hook rate 19.59 11.81 9.35 individuals/100 hooks respectively. The distribution and abundance of Serranidae were 1.90 1.71 1.65 individuals/100 hooks at ST23 ST04 ST03 respectively. The distribution and abundance of Lutjanidae were 2.92 2.92 2.14 individuals/100 hooks at ST08 ST22 ST02 respectively. The distribution and abundance of Lethrinidae were 2.71 2.70 2.68 individuals/100 hooks at ST08 ST19 ST18 respectively. The distribution and abundance of others were 8.25 7.54 6.32 individuals/100 hooks at ST23 ST19 ST03 respectively. The economically important species were Lipocheilus cainorabrum, Etelis carbunculus and Epinephalus spp. The demersal fish exploration by means of deep sea trap operation were carried out around continental shelf in Andaman Sea during January 2006 to March 2008 with the total of 34 fishing operations. In 20 surveyed stations at the depth varies from 75-183 meters. The total catch was 1,234.67 kgs.with the average catch was 6.602 kgs./trap . The highest catch rate was 145.35 Kgs. as recorded as station 10 and the average of catch was 18.169 kgs/trap. The lowest catch rate was 0.12 kg as recorded at station 19, and the average catch rate was 0.03 kg/trap. The total of 75 aquatic fauna were recovered including invertebrates 28 species, cartilaginous fishes 9 species and bony fishes 38 species. The economically important fishes were categorized into 7 groups as follows : grouper, snappers, shark, lobsters, slipperlobster, nautilus and miscellaneous group. The fertile fishing ground for aquatic fauna was fishing operation number 2 where as fishing operation number 10 was non-fertile fishing ground. The factors which effect to catch rate are rocky bottom, shelf area and the depth which results to specific catches. In conclusion, the continental fishing ground is suitable for trap fishery and environmental friendly. Variability of temperature, dissolved oxygen, salinity and pH at sea surface and depth profile were investigated from data of 79 CTD operations during the cruise of F.R.V. Chulabhorn and M.V. SEAFDEC2 (January 2006-April 2008) in the fishing grounds along the continental shelf in the Andaman Sea. The results appeared that sea surface temperature ranged from 27.06 to 30.91 .C. It was remarkably very low 27.06-27.90 .C in January 2007. Dissolved oxygen concentration in sea surface water was found between 3.4-6.0 ml/l. Salinity was in the range of 31-33 psu and the low value (31-32 psu) was observed in December. The pH slightly varied between 8.5-8.8. Regarding the variability by depth, thermocline layer was relatively deep in January- February 2006 with the turning point of temperature at 50-62 m depth and temperature around 27.84-28.21 .C. During December 2006-April 2007, it was rather shallow with the turning point at 22-57 m and temperature 24.22-29.71 .C. In March-April 2008, thermocline showed starting depth between 32-74 m with temperature 24.58-28.06 .C. The oxycline range was found between 25-185 m depth with temperature 24.22-29.71 .C. Dissolved oxygen concentration in the oxycline was detected 0.77-5.96 ml/l. The halocline began at of 20-60 m with salinity 31-33 psu. The pH profiles in 2006 and 2007 were slightly different. Mixed-water layer near the coast during February-March 2007 was thinner than in 2008 and oxygen dissolved well in sea water in late January to early February 2006. In distant areas the relatively thin layer of mixed-water was observed in December 2006-January 2007. Dissolved oxygen concentration was less and water was high stratified in pH in April 2007.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2548-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน
กรมประมง
30 กันยายน 2551
กรมประมง
สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำในเขตชายฝั่ง 10 ไมล์ทะเลบริเวณ ฝั่งทะเลอันดามัน สภาวะแวดล้อมบางประการในแหล่งประมงบริเวณไหล่ทวีปทะเลอันดามัน การสำรวจทรัพยากรสัตว์น้ำด้วยเครื่องมือเบ็ดราวหน้าดินแนวตั้งบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน การสำรวจทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดินด้วยเครื่องมือลอบน้ำลึกบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมือประมงพื้นบ้านบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันของไทย ทรัพยากรสัตว์ทะเลจากเรือสำรวจประมงในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำทางฝั่งทะเลอันดามัน การศึกษาความหนาแน่นและการแพร่กระจายสัตว์น้ำทางฝั่งทะเล อันดามันด้วยวิธีไฮโดรอะคูสติก สมุทรศาสตร์การประมงบริเวณแหล่งประมงปลาทูน่าในทะเลอันดามัน สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ศึกษาสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำและคุณภาพแหล่งประมง เพื่อกำหนดเขตการประมง (Zoning) บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก