สืบค้นงานวิจัย
รูปแบบการจัดการผลิตและการส่งเสริมโคเนื้อของเกษตรกรในจังหวัดนราธิวาส ภายใต้ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
สมนึก ลิ้มเจริญ - มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
ชื่อเรื่อง: รูปแบบการจัดการผลิตและการส่งเสริมโคเนื้อของเกษตรกรในจังหวัดนราธิวาส ภายใต้ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
ชื่อเรื่อง (EN): The model of Production management and Extension Beef Cattle of Farmers in Narathiwas Province in Sustainable Agriculturesystem
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สมนึก ลิ้มเจริญ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: มงคล คงเสน
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1:) เพื่อศึกษาสภาพสังคมเศรษฐกิจและการจัดการผลิตโคเนื้อ ของเกษตรกร 2) รูปแบบการจัดการผลิตและการส่งเสริมโคเนื้อของเกษตรกร และ3) สภาพปัญหา อุปสรรคในการผลิตโคเนื้อของเกษตรกรในจังหวัดนราธิวาส ภายใด้ระบบระบบเกษตรกรรมยั่งยืน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เกษตรกรผู้ลี้ยงโคเนื้อในจังหวัดนราธิวาส 390 คน และเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติ ด่าความถี่ ค่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่เบื่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรส่วนร้อยละ 97.40 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 49.54 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่จบประถมศึกษา ทำ สวนขางเป็นอาชีพหลักและเลี้ยงสัตว์เป็นอาชีพรอง มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 6.28 คน มีพื้นที่ถือครองเฉลี่ย 4.66 ไร่ มีรายได้เฉลี่ย 152.326.80 บาทครัวเรือน/ปี เกษตรกรส่วนใหญ่เลี้ยง โคพันธุ์พื้นเมือง มีประสบการณ์ในการเลี้ยงโคเนื้อเฉลี่ย 476 ปี เกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อเฉลี่ย 1.81 ตัว/ครัวเรือน และมีรายได้จากการขายโคเนื้อเฉลี่ย 36,141.67 บาท/ครัวเรือน ส่วนด้านการพัฒนา รูปแบบการจัดการผลิตและการส่งเสริมโคเนื้อของเกษตรกรในจังหวัดนราธิวาสภายใด้ระบบ เกษตรกรรมยั่งยืน เน้นระบบการเรียนรู้ในงานส่งเสริม คือกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง นักส่งเสริม (ผู้ส่งสาร) กับเกษตรกรเป้าหมาย (ผู้รับสาร) โดขมีประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็น เทคโนโลยีที่การเกษตรเหมาะสม(ข่าวสาร ) ผ่านช่องทางการเรียนรู้ต่างๆ(สื่อ) โดยมีปัจจัยสู่ความ สำเร็จที่สำคัญที่เอื้อต่อการส่งเสริม คือการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและการพัฒนาเปีนเครื่อ ข่าย หรือกลุ่มเกษตร เพื่อพัฒนารูปแบบการเลี้ยงโกเนื้อ ที่ยั่งยืนพึ่งพาตนเองได้ของเกษตรกร
บทคัดย่อ (EN): The objectives of this study were 1) to study social and economic and Production management and Extension Beef Cattle of Farmers, 2) to study the Model of Production management and Extension Beef Cattle of Farmers, and 3)to study their problems and suggestions of Production management and Extension Beef Cattle of Farmers in Narathiwat Province in Sustainable Agriculture System. 390 samples were selected from these farmers by. Using simple random sampling methodology. The data were collected by using interview forms. Data were analyzed using frequency, percentage, minimum and maximum, value mean ,and standard deviation The results revealed that 97.40 % of the farmers were male with the average age of 49.54 years old, and most of them finished primary education. The majority of farmers had Para Rubber Farmers as their main occupation and beef cattle production as secondary occupation. The farmers household had average members of 6.28 persons, an average land holding area of 4.66 Rai, and an average income of 152.326.80 Baht. The farmers had experiences in beef cattle rearing for an average of 4.76 years and most of them reared native beef cattle, with an average of 1.81 heads/bousehold. And earned an average income of 36,141.67 Bath. The Beef Cattle extension model that was developed was based on learning, comprising a process for leaming exchange between extension ofticials (Source) and target farmers (Receiver) on topics concerning appropriate technology (Message) via various learning channels (Channel) The key success factors were farmer participation and development of farmers network formation. To develop a model of production management and extension beef cattle of farmers in sustainable agriculture system
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
รูปแบบการจัดการผลิตและการส่งเสริมโคเนื้อของเกษตรกรในจังหวัดนราธิวาส ภายใต้ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
30 กันยายน 2559
อิทธิพลของสภาพพื้นที่ในช่วงก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวข้าวต่อพฤติกรรมโคเนื้อที่เลี้ยงภายใต้การจัดการของเกษตรกร ศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชอาหารสัตว์โดยการหมักของเกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ระบบการผลิตและโอกาสทางการตลาดของการผลิตโคเนื้อพื้นเมือง ในเขตจังหวัดภาคเหนือ (เชียงใหม่ แพร่ ลำพูน ลำปาง) ความต้องการการส่งเสริมการผลิตสับปะรดของเกษตรกรในจังหวัดหนองคาย ประสิทธิผลการผลิตข้าวแปลงใหญ่ของเกษตรกรในเขตภาคเหนือตอนบน รูปแบบการส่งเสริมการเกษตรภายใต้สถานการณ์ความไม่สงบ ในจังหวัดนราธิวาส การศึกษาระบบการจัดการสวนและต้นทุนของการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรในเขตจังหวัดชุมพร ความคาดหวังต่อการส่งเสริมการผลิตและการตลาดไก่พื้นเมืองของเกษตรกรในจังหวัดขอนแก่น มูลค่าการค้าขายโคเนื้อและกระบือผ่านสะพานมิตรภาพแห่งที่ 3 จังหวัดนครพนม การศึกษาเปรียบเทียบการจัดการแรงงานภาคเกษตรของเกษตรกรชาวสวนลำไย จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดจันทบุรี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก