สืบค้นงานวิจัย
เห็ดกลุ่มโบลีตส์ของประเทศไทย
อนงค์ จันทรศรีกุล พัฒนา สนธิรัตน์ และ ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: เห็ดกลุ่มโบลีตส์ของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): The Boletes Mushroom Group in Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อนงค์ จันทรศรีกุล พัฒนา สนธิรัตน์ และ ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Anong Chandrasrikul
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Pattana Sontirat and Prapaisri Phitakpraiwan
คำสำคัญ: เห็ด
บทคัดย่อ: โบลีตส์ (Boletes) เป็นกลุ่มของเห็ดตับเต่า ซึ่งหลายชนิดเป็นเห็ดรับประทานได้อย่างดี วัตถุประสงค์ของการรายงานครั้งนี้ก็เพื่อแนะนำเห็ดรับประทานได้ กลุ่มโบลีตส์บางชนิดซึ่งยังไม่เคยมีการแสดงรูปพรรณมาก่อน ได้แก่ ชนิด Boletus chrysenteroides Snell., B. chrysenteron Bull., B. colossus (Heim) Singer, B. griseipureus Corner, B. rectus Corner, Phaeogyroporus silvaticus (Heinemann) Pegler และ Suillus luteus (Fr.) Gray.
บทคัดย่อ (EN): Seven different mushrooms in the bolete group which are edible and naturally occurring in Thailand were identified and described. They are Boletus chrysenteroides Snell, B. chrysenteron Bull., B. colossus (Heim) Signer, B. griseipurpureus Corner, B. rectus Corner, Phaeogyroporus silvaticus (Heinemann) Pegler, and Suillus luteus (Fr.) Gray.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2529
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2529
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
เห็ดกลุ่มโบลีตส์ของประเทศไทย
กรมวิชาการเกษตร
2529
เอกสารแนบ 1
การผลิตเซลล์และโพลีแซคคาไรด์ในอาหารเหลวจากเส้นใยของเห็ดป่าที่แยกในประเทศไทย การคัดกรองและแยกกลุ่มไบโอแอคตีฟโปรตีนและเปปไทด์ในกลุ่มเห็ดที่นิยมบริโภค การตรวจหาสารต้านอนุมูลอิสระในเห็ดป่ารับประทานได้ทั้งแบบเห็ดสดและเห็ดสุกในจังหวัดน่าน ผลงานนำเสนอประชุมวิชาการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่ 23 เรื่อง สถานการณ์การเกิดพิษจากการรับประทานเห็ดพิษในรอบ 8 ปีของประเทศไทย 2559A17002025 การตรวจหาสารต้านอนุมูลอิสระในเห็ดป่ารับประทานได้ทั้งแบบเห็ดสดและเห็ดสุกในจังหวัดน่าน การใช้น้ำส้มควันไม้กับการเพาะเห็ดโคนน้อย เห็ดฟาง ในกระถางที่มีส่วนผสมของผักตบชวาสำหรับระยะการเจริญเป็นดอกเห็ด นวัตกรรมสำหรับกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ด: การพัฒนาเห็ดเยื่อไผ่ นวัตกรรมสำหรับกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ด: อุปกรณ์เจาะก้อนเห็ด การผสมข้ามชนิดของเห็ดนางฟ้ากับเห็ดนางฟ้าภูฐาน นวัตกรรมสำหรับกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ด: ระบบการให้ความชื้นอัตโนมัติในโรงเห็ด

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก