สืบค้นงานวิจัย
ศึกษาลักษณะการเกิดโรคแอสเปอร์จิลลัสในหนอนไหม วัยแก่
ธงชัย สิทธิสงคราม - กรมหม่อนไหม
ชื่อเรื่อง: ศึกษาลักษณะการเกิดโรคแอสเปอร์จิลลัสในหนอนไหม วัยแก่
ชื่อเรื่อง (EN): Some Observation on the Expression of the Symtoms in Grown Silkworm Inoculate with Aspergillus
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธงชัย สิทธิสงคราม
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จิรศักดิ์ เพ็ชรมีศรี
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ตารางที่1 การทดลองกับหนอนไหมวัย4 ปรากฏลักษณะการเป็นโรค คือ เกิดจุดสี น้ำตาลหรือดำ มีลักษณะแข็งบนผิวหนังของหนอนไหม 28.7% ซึ่งส่วนใหญ่จะเกิดหลังการลอกคราบ ส่วนอาการอื่นจะเกิดขณะลอกคราบ คือ ลอกคราบไม่ออก และลอกคราบออกได้ไม่หมด อาการที่เกิดหลังการลอกคราบคือ...
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2521
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2522
เอกสารแนบ: https://qsds.go.th/newosrd/wp-content/uploads/sites/115/2021/08/2522-41.pdf
เผยแพร่โดย: กรมหม่อนไหม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษาลักษณะการเกิดโรคแอสเปอร์จิลลัสในหนอนไหม วัยแก่
กรมหม่อนไหม
2522
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมหม่อนไหม
การทดสอบประสิทธิภาพของสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา ใน การป้องกันกำจัดโรคแอสเปอร์จิลลัสของหนอนไหม การหาจำนวนครั้งที่เหมาะสมที่จะให้ใบหม่อนกับหนอนไหมวัยแก่ในแต่ละวัย การทดสอบประสิทธิภาพของสารเคมีกำจัดเชื้อรา ในการป้องกันกำจัดโรคแอสเปอร์จิลลัสของหนอนไหม การศึกษาปฏิกิริยาของหม่อนไหมวัยต่างๆ ต่อโรคแอสเปอร์จิลลัส การศึกษาพิษตกค้างของสารฆ่าแมลงในการป้องกัน กำจัดเพลี้ยไฟในใบหม่อนต่อหนอนไหมวัยแก่ การศึกษาอัตราของเพ็บโซลที่ผลิตได้ในประเทศ ในการ ป้องกันกำจัดโรคแอสเปอร์จิลลัสของหนอนไหม การสำรวจความเสียหายและฤดูการเกิดโรคแกรสเซอรี่ ของหนอนไหมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของไหมพันธุ์ใหม่ A10 และ A11 การนำ dsRNA ของยีน lef-2 และ gp64 มาใช้ยับยั้งการเกิดโรคแกรสเซอรี่ในหนอนไหม ในระดับศูนย์ฯ และภาคเกษตรกร การประเมินความเสียหายที่เกิดจากหนอนเจาะผลลิ้นจี่ Conopomropha sinensis (Lepidoptera: Gracillariidae) และบทบาทของแตนเบียนหนอนเจาะผล
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก